ความรู้ทั่วไป กฎหมายภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากร พ.ศ. 2564 ทัศนีย์ เหลืองเรืองรอง

280฿

หมวดหมู่:

คำอธิบาย

ความรู้ทั่วไป กฎหมายภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากร พ.ศ. 2563 ทัศนีย์ เหลืองเรืองรอง
ผู้แต่ง : ทัศนีย์ เหลืองเรืองรอง
สารบัญ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร
 1. ความหมาย
 2. วัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษีอากร
 3. ลักษณะของภาษีอากรที่ดี
 4. โครงสร้างกฎหมายภาษีอากร
 4.1 ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
 4.2 ประเภทภาษีอากร
 4.3 ฐานภาษีและอัตราภาษี
 4.4 วิธีการเสียภาษี
 4.5 ความรับผิดชอบจากการไม่ปฏิบัติตามประมวลรัษฎากร
 4.6 ขั้นตอนการขอความเป็นธรรมในคดีภาษีอากร
 สรุปการเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร
บทที่ 2 ภาษีเงินได้รับบุคคลธรรมดา
 1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
 1.1 บุคคลธรรมดา
 1.2 ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี
 1.3 กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
 1.4 ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
 2. เงินที่พึงประเมิน
 2.1 ความหมายของเงินได้พึงประเมิน
 2.2 หลักเกณฑ์การรับรู้เงินได้พึงประเมินของผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
 2.3 แหล่งเงินได้ที่ต้องนำมาเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
 2.4 การจำแนกประเภทของการเงินได้พึงประเมินและกานหักค่าใช้จ่าย
 2.5 เงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นภาษี
 3. การหักลดหย่อน
 4. การคำนวณภาษีเงินบุคคลธรรมดา
 5. การยื่นแบบแสดงรายการชำระภาษี
บทที่ 3 ภาษีเงินได้บุคคล
 1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
 2. ระยะเวลาบัญชี
 3.ฐานภาษี
 3.1 ฐานกำไรสุทธิ – ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
 3.2 ฐานการจำหน่ายจากเงินกำไรออกไปนอกประเทศไทย
 3.3 ฐานเงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
 3.4 ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่าย
4. การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิ
 4.1 การคำนวณกำไรสุทธิ
 4.2 เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ
 4.3 เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม)
 4.4 อัตราภาษี
 4.5 การคำนวณภาษี
 4.6 การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี
 4.7 การประเมินภาษีตามมาตรา 71 (1)
บทที่ 4 ภาษเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
 1. ลักษณะภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
 2. กรณีไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
 3. ประเภทของภาษีเงินที่หัก ณ ที่จ่าย
 3.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย
 3.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย
 3.3 ให้หักภาษี ณ ที่จ่ายในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีตรรางการหักภาษีเงินได้
ณ ที่จ่ายตามมาตรา 3 เตรส
 4. เงินได้ที่สามารถแยกคำนวณตางหากจากเงินได้อื่น
 5. หน้าที่ของผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย
บทที่ 5 ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax)
 1.กิจการและบุคคลที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
 1.1 ผู้ประกอบการขายสิ้นค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ
 องค์ประกอบที่ 1 ผู้ประกอบต้องเป็นบุคคล
 องค์ประกอบที่ 2 ผู้ประกอบการต้องขายสิ้นค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ
 องค์ประกอบที่ 3 ต้องประกอบกิจการในราชอาณาจักร
 1.2 ผู้นำเข้า
 1.3 ผู้ที่กฎหมายกำหนดให้มีหน้าที่ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ
 2. กิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
 3. กำหนดเวลาที่เกิดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
 4. ฐานภาษี
 5. การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
 6. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม
 7. การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม การขอคืน และการเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่ม
 7.1 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม
 7.2 การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มและการเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่ม
 7.3 ภาษีขายและภาษีซื้อ
-ภาษีซื้อห้ามนำไปหักจากภาษีขายในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม
 8. หน้าที่ของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
 8.1 การจดทะเบียนมูลค่าเพิ่ม
 8.2 เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการและออกใบกำกับภาษีเพื่อเป็นหลักฐานในการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม
 8.3 จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่มตามที่กฎหมายกำหนด
 8.4 ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี
บทที่ 6 ภาษีธุรกิจเฉพาะ
 1.ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
 1.1 ต้องเป็นบุคคล
 1.2 ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
 1.3 ประกอบกิจการในราชอาณาจักร
 1.4 การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
 1.5 กรณีไม่เป็นการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
 1.6 การให้กู้ยืมเงินที่ไม่ต้องนำดอกเบี้ยมารวมคำนวณเป็นรายรับเพื่อเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
 2. การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ
 3. กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
 4. ฐานภาษีและอัตราภาษี
 5.การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ
 6.หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
บทที่ 7 อากรแสตมป์
 1. วิธีการเสียอากร
 2. การยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
 3. บทลงโทษ
 บัญชีอัตราอากรแสตมป์
บาที่ 8 ภาษีอากร การโอนอสังหาริมทรัพย์
 1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
 1.1 การโอนอสังหาริมทรัพย์
 1.2 ราคาขายอสังหาริมทรัพย์
 1.3 วิธีการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากขายอสังหาริมทรัพย์
 1.4 สิทธิเลือกเสียภาษีสำหรับเงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์
2. ภาษีธุรกิจเฉพาะ
 2.1 การขายอสังหาริมทรัพย์เฉพาะที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
 2.2 เป็นการขานอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหำไรในราชอาณาจักร
 2.3 สรุป ภาระภาษีกรณีบุคคลธรรมดาโอนอสังหาริมทรัพย์
 3. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 4. กากรแสตมป์
บรรณานุกรม

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 1 กก.