คำอธิบาย
ชื่อ = หนังสือหลักและทฤษฎีกฎหมายอาญา เตรียมสอบผู้ช่วยผู้พิพากษา อัยการผู้ช่วย สุพิศ ปราณีตพลกรัง
จัดพิมพ์เมื่อ = พิมพ์คร้ังที่ 3 / กันยายน 2566
ผู้เขียน/ผู้แต่ง/ผู้รวบรวม = สุพิศ ปราณีตพลกรัง
มีจำนวนหน้า = 40 หน้า
ขนาดเล่ม = 21 x 14.5 x 0.2 ซม.
ปก = อ่อน (T)
รหัสเลข isbn = 9789742039349
นิติธรรม
Attorney285
คำนำ
เนื่องจากได้รับแจ้งจากทางสำนักพิมพ์ว่า จะพิมพ์หนังสือขึ้นใหม่ จึงเห็นสมควรปรับปรุง
แก้ไขเพิ่มเติมให้ดียิ่งขึ้น จึงได้เรียบเรียงเพิ่มเติม โดยยังคงถือหลักว่า เน้นสาระต่าง ๆ ที่เป็น
ประโยชน์ที่ผู้อ่านควรทราบและนำไปใช้ได้ ดังนั้น เรื่องที่เพิ่มเติมจึงมีหลากหลายและไม่จัดเรียง
ตามลำดับหัวข้อในรูปแบบของเรื่องราวที่ควรจะเป็น บางเรื่องก็เป็นการอธิบายขยายความร่าย
ละเอียดของหัวข้อเดิมที่เคยกล่าวถึงเพื่อให้เกิดมุมมองที่กว้างขวาง แต่ก็ยังไม่มีเวลามากพอที่จะ
เปรียบเทียบกับกรณีของไทยได้ทั้งหมด คงต้องให้ท่านผู้อ่านลองศึกษาวิเคราะห์ดูต่อไป นอกจาก
นี้แล้ว เนื่องจากเป็นเรื่องของหลักการ ทฤษฎี จึงอาจเสนอไม่ได้ทั้งหมด คงเรียบเรียงและนำเสนอ
ในส่วนที่น่าสนใจเท่านั้น เมื่อทราบว่าเป็นเช่นนี้แล้ว เวลาที่ผู้อ่านศึกษาเพิ่มได้ความรู้มุมมองใหม่
จะได้ไม่เกิดการติดข้องในใจ จะทำให้การศึกษาเป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น
ขอขอบคุณท่านผู้ให้ความสนใจ ขอบคุณทางสำนักพิมพ์ในการรับจัดพิมพ์และจำหน่าย
อย่างแพร่หลาย หวังว่าหนังสือนี้คงเป็นประโยชน์บ้างตามสมควร
ดร.สุพิศ ปราณีตพลกรัง
๑ กันยายน ๒๕๖๖
สารบัญ
ข้อความเบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายอาญา
เกี่ยวกับอาชญากรรม
จุดประสงค์ของกฎหมายอาญา
วัตถุประสงค์ของการลงโทษ
กฎหมายอาญากับกฎหมายแพ่ง
Nulla poena sine lege
หลักกฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลัง
Mala in se และ Mala prohibita
ใครงสร้างความรับผิดทางอาญา
โครงสร้างความรับผิดทางอาญาของระบบกฎหมายอาญา Civi Law
เจตนากับจงใจ
การกระทำ
ความไม่รู้ข้อเท็จจริงกับความสำคัญผิดในข้อเท็จจริง
กระทำผิดด้วยความจำเป็นกับป้องกัน
เหตุยกเว้นความผิด
เจตนาเล็งเห็นผลกับประมาท
ความไม่รักฎหมายไม่ใช่ข้อแก้ตัว
ความจำเป็นไม่เหลียวแลดูกฎหมาย
กระทำโดยพลาดกับกระทำโดยสำคัญผิดในตัวบุคคล
เหตุผลเว้นโทษ
ลงโทษน้อยหรือลดหย่อนผ่อนโทษ
วิกลจริต
กระทำผิดโดยบันตาลโทละ
เด็กกระทำผิด
ผู้สนับสนุน
ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน
ผู้ถูกใช้เป็นผู้บริสุทธิ์หรือตัวแทนบริสุทธิ์ (Innocent agent)
การกระทำความผิดอีก
ดูหมิ่นกับหมิ่นประมาท
ชิงทรัพย์
กรรโซกกับชิงทรัพย์
ลักทรัพย์กับยักยอก
ลักทรัพย์กับฉ้อโกง
ที่มาแห่งอำนาจการลงโทษ
ทฤษฎีการลงโทษ
การตีความกฎหมายอาญา
การแบ่งแยกประเภทของอาชญากรรมหรือความผิดอาญาตาม Common aw
หลักพื้นฐานของความรับผิด (Theory of Liability)
เกี่ยวกับ Recklessness
เกี่ยวกับการพิจารณากรณี Recklessness
Criminalization
Over Criminalization
Decriminalization
การกระทำผิดแม้ไม่มีเจตนา
Lex talionis
ละเมิดกับการกระทำความผิดทางอาญาหรืออาชญากรรม (Tort and Crime)
เปรียบเทียบการกระทำผิดอาญากับละเมืด
กรรมเป็นเครื่องขี้เจตนา
ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล (Causation)
ความยินยอมกับการกระทำความผิดทางอาญา
เปรียบเทียบกับการยอมความในคดีอาญา
ความเป็นมาของกฎหมายอาญา
หลักการและวัตถุประสงค์ของกฎหมายอาญา
ที่มาของกฎหมายอาญา (The sources of criminal law)
หลักทั่วไปของกฎหมายอาญา
สาระสำคัญเกี่ยวกับความรับผิดทางอาญา
ทฤษฎีหรือหลักการของกฎหมายอาญา
ปรับเป็นพินัย
เรื่องทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายอาญา
กฎหมายอาญาในรูปแบบประมวลกฎหมายและจารีตประเพณี
สถานะของกฎหมายอาญา
การกระทำที่เป็นความผิดอาญา
การห้ามฟ้องซ้ำ
เกี่ยวกับอายุความ
เกี่ยวกับขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
องค์ประกอบของความผิดทางอาญา (The elements of crime)
ทฤษฎีเกี่ยวกับอาชญากรรม
อาชญากรรมไม่มีผู้เสียหาย (victimless crime)
การกระทำโดยบันดาลโทสะ
การป้องกันตนเอง (Self-Defense)
สุภาษิตกฎหมายที่น่าสนใจ
|