คำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ภาค 3-4 เล่ม 2 ธานิศ เกศวพิทักษ์

600฿

หมวดหมู่: ป้ายกำกับ:
คำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ภาค 3-4 เล่ม 2 ธานิศ เกศวพิทักษ์
ผู้แต่ง: ธานิศ เกศวพิทักษ์
ประกอบด้วย : อำนาจศาลฎีกาที่จะไม่รับพิจารณาคดีที่จะไม่เป็นสาระตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 219 ว.2 แผนภูมิหลักเกณฑ์ที่สำคัญ วิเคราะห์ฎีกาที่น่าสนใจ ข้อสังเกตที่มองข้ามไม่ได้ ตัวอย่างคำถามพร้อมธงคำตอบ
วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น
บทที่ ๑ แบบคำฟ้องคดีอาญา
๑. แบบคำฟ้องคดีอาญาทั่วไป
๑.๑ คำฟ้องต้องทำเป็นหนังสือ
๑.๒ รายการของคำฟ้อง
 ๑.๒.๑ ส่วนเริ่มต้นของคำฟ้อง
 ๑.๒.๒ ส่วนเนื้อหาของคำฟ้อง
 ๑.๒.๓ ส่วนท้ายของคำฟ้อง
๒. แบบคำฟ้องคดีหมิ่นประมาท
๓. แบบคำฟ้องขอเพิ่มโทษจำเลยฐานไม่เข็ดหลาบ
๔. แบบคำฟ้องความผิดหลายกระทง
บทที่ ๒ การไต่สวนมูลฟ้อง
๑. การสั่งไต่สวนมูลฟ้อง
๒. วิธีการไต่สวนมูลฟ้อง
๒.๑ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการนำตัวตำเลยมาศาลพร้อมฟ้อง
๒.๒ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการสอบคำถามคำให้การจำเลย
๒.๓ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการไต่สวนมูลฟ้องต่อหน้าจำเลย
๒.๔ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการมีฐานะเป็น “จำเลย”
๓. จำเลยไม่มีอำนาจนำพยานมาสืบในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง
๔. ผลของการไต่สวนมูลฟ้อง
บทที่ ๓ การแก้หรือเพิ่มเติมฟ้องและคำให้การ
๑. การแก้หรือเพิ่มเติมฟ้อง
๑.๑ กรณีเพิ่มเติมฟ้องขอให้เพิ่มโทษจำเลย
๑.๒ กรณีศาลสั่งให้โจทก์แก้ฟ้องให้ถูกต้อง
๑.๓ กรณีโจทก์ขอแก้หรือเพิ่มเติมฟ้องทั่วไป
หลักเกณฑ์การขอแก้หรือเพิ่มเติมฟ้อง
๑.๓.๑ ต้องมีเหตุอันควร
๑.๓.๒ โจทก์ต้องยื่นคำร้องขอแก้หรือเพิ่มเติมฟ้องก่อนมีคำพิพากษาศาลชั้นต้น
๑.๓.๓ ต้องไม่ทำให้จำเลยเสียเปรียบในการต่อสู้คดี
๑.๓.๔ ศาลเห็นสมควรจะอนุญาตหรือจะส่งให้ไต่สวนมูลฟ้องเสียก่อนก็ได้
๑.๓.๕ เมื่ออนุญาตแล้ว ให้ส่งสำเนาแก้ฟ้องหรือฟ้องเพิ่มเติมแก่จำเลยเพื่อแก้
๒. การแก้หรือเพิ่มเติมคำให้การ
หลักเกณฑ์การแก้หรือเพิ่มเติมคำให้การ
๒.๑ ต้องมีเหตุสมควร
๒.๒ จำเลยอาจยื่นคำร้องขอแก้หรือเพิ่มเติมคำให้การได้ก่อนมีคำพิพากษาศาลชั้นต้น
๒.๓ ถ้าศาลเห็นสมควรอนุญาตก็ให้ส่งสำเนาคำร้องขอแก้หรือเพิ่มเติมคำให้การแก่โจทก์
๒.๔ กรณีจำเลยรับสารภาพตามฟ้อง หากศาลอนุญาตให้โจทก์เพิ่มเติมฐานความผิด จำเลยย่อมมีสิทธิขอเพิ่มเติมคำให้การได้ มิฉะนั้นย่อมแสดงว่าจำเลยรับสารภาพ
บทที่ ๔ การขาดนัดของโจทก์ในคดีอาญา
๑. หลักเกณฑ์การขาดนัดของโจทก์
๑.๑ ต้องเป็นกรณีที่โจทก์ไม่มาศาลตามกำหนดนัด
๑.๒ โจทก์ต้องทราบกำหนดนัดของศาลโดยชอบแล้ว
๑.๓ ฝ่ายโจทก์ต้องไม่มีใครมาศาลในวันกำหนดนัดเลย
๒. หลักเกณฑ์การร้องขอให้ศาลยกคดีของโจทก์ขึ้นไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณาใหม่
๒.๑ ต้องเป็นคดีที่ศาลยกฟ้องเพราะโจทก์ขาดนัดตามมาตรา ๑๖๖ วรรคหนึ่ง
๒.๒ โจทก์ต้องร้องขอให้ศาลยกคดีของโจทก์ขึ้นไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณาใหม่ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ศาลยกฟ้อง
๒.๓ โจทก์ต้องแสดงให้ศาลเห็นว่ามีเหตุสมควรที่ทำให้โจทก์มาศาลไม่ได้
๓. หลักเกณฑ์การตัดอำนาจของโจทก์ที่จะฟ้องจำเลยในเรื่องเดียวกันนั้นอีก
บทที่ ๕ การพิจารณาคดีอาญาสั่งซื้อได้ที่ attorney285.com
หลักเกณฑ์และขั้นตอนในการพิจารณาคดีอาญา
– การพิจารณาและสืบพยานในศาลต้องทำโดยเปิดเผยต่อหน้าจำเลย
๑. ข้อยกเว้นหลักการพิจารณาโดยเปิดเผย
๒. ข้อยกเว้นหลักการพิจารณาต่อหน้าจำเลย
๒.๑ ข้อยกเว้นตามมาตรา ๑๗๒ ทวิ
๒.๒ ข้อยกเว้นตามมาตรา ๑๘๐
๒.๓ ข้อยกเว้นตามมาตรา ๒๓๗ ทวิ
– การนำมาตรา ๒๓๗ ทวิมาใช้บังคับโดยอนุโลมแก่การสืบพยานกรณีอื่น ๆ
– การเดินเผชิญสืบและการส่งประเด็นไปสืบพยานที่ศาลอื่น
– การใช้วิธีการสืบพยานที่เหมาะสมแก่การสืบพยานบุคคลบางประเภท
๑. กรณีศาลเห็นสมควรใช้วิธีการสืบพยานพิเศษตามมาตรา ๑๗๒ วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคห้า
๒. กรณีกฎหมายบังคับให้ศาลใช้วิธีการาสืบพยานเด็กสำหรับการสืบพยานที่เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี
– กรณีที่ไม่ได้ตัวพยานที่เป็นเด็กมาเบิกความต่อศาล
– การสืบพยานนอกศาลในคดีที่พยานเป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี
– การสอบถามและ/หรือตั้งทนายความให้จำเลย
– ข้อสังเกตของมาตรา ๑๗๓ ทั้งสองวรรค
– การสอบถามคำให้การจำเลย
– จำเลยให้การรับสารภาพในชั้นพิจารณา
– โจทก์ในคดีอาญามีหน้าที่นำพยานเข้าสืบก่อนเสมอ
– การยื่นบัญชีระบุพยานและการนำสืบพยานเอกสารในคดีอาญา
๒. การนำสืบพยานเอกสารในคดีอาญา
– การกำหนดให้มีวันตรวจพยานหลักฐานก่อนกำหนดวันนัดสืบพยาน
– การสืบพยานล่วงหน้าหลังฟ้องคดีต่อศาล
– การเรียกสำนวนการสอบสวน จากพนักงานอัยการมาเพื่อประกอบการพิจารณา
บทที่ ๖ คำพิพากษาและคำสั่ง
๑. หลักเกณฑ์การพิพากษายกฟ้องตามมาตรา ๑๘๕
๒. หลักเกณฑ์การแก้ไขคำพิพากษาหรือคำสั่ง
๓. หลักเกณฑ์การอธิบายข้อสงสัยในคำพิพากษาหรือส่งเกินคำขอ
๔. หลักเกณฑ์ห้ามศาลพิพากษาหรือสั่งเกินคำขอ
๔.๑ หลักเกณฑ์ของมาตรา ๑๙๒ วรรคหนึ่ง
๔.๒ หลักเกณฑ์ของมาตรา ๑๙๒ วรรคสอง
๔.๓ หลักเกณฑ์ของมาตรา ๑๙๒ วรรคสาม
๔.๔ หลักเกณฑ์ของมาตรา ๑๙๒ วรรคสี่
๔.๕ หลักเกณฑ์ของมาตรา ๑๙๒ วรรคห้า
๔.๖ หลักเกณฑ์ของมาตรา ๑๙๒ วรรคหก
๔.๗ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการห้ามการพิพากษาหรือสั่งเกินคำขอท้ายฟ้องต่าง ๆ
(๑) คำขอให้เพิ่มโทษจำเลยฐานไม่เข็ดหลาบ
(๒) คำขอให้นับโทษต่อ
(๓) คำขอให้ริบทรัพย์
(๔) คำสั่งคืนของกลางแก่เจ้าของ
(๕) คำขอให้ลงโทษจำเลยหลายกรรมต่างกัน
(๖) คำขอให้บวกโทษที่รอการลงโทษ
(๗) คำขอให้จ่ายค่าปรับแก่เจ้าของลิขสิทธิ์
ภาค ๔
อุทธรณ์ภาคและฎีกา
บทที่ ๑ สิทธิในการอุทธรณ์
บทที่ ๒ ข้อจำกัดสิทธิในการอุทธรณ์
๑. การห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงตามมาตรา ๑๙๓ ทวิ
๑.๑ คดีที่อยู่ในเกณฑ์ต้องห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง
๑.๒ มาตรา ๑๙๓ ทวิ ห้ามอุทธรณ์เฉพาะในปัญหาข้อเท็จจริง
๑.๓ การห้ามอุทธรณ์ในคดีที่โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยหลายข้อหา
๑.๔ ข้อยกเว้นตามมาตรา ๑๙๓ ทวิ ที่ยอมให้จำเลยอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงได้
๒. การห้ามอุทธรณ์คำสั่งในระหว่างการพิจารณา
๓. การห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วแต่ในศาลชั้นต้น
บทที่ ๓ การยื่นอุทธรณ์ การแก้ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์ การตรวจรับอุทธรณ์ และการถอนอุทธรณ์
๑. การยื่นอุทธรณ์
๒. การแก้ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์
๓. การตรวจรับอุทธรณ์
๓.๑ หลักเกณฑ์การตรวจรับอุทธรณ์
๓.๒ การอุทธรณ์คำสั่งไม่รับอุทธรณ์
๓.๓ การส่งสำเนาอุทธรณ์
๔. การถอนอุทธรณ์
๔.๑ หลักเกณฑ์การขอถอนอุทธรณ์
๔.๒ ศาลที่มีอำนาจสั่งคำร้องขอถอนอุทธรณ์
๔.๓ ผลของการขอถอนอุทธรณ์
บทที่ ๔ การพิจารณาคดีชั้นอุทธรณ์
บทที่ ๕ คำพิพากษาและคำสั่งชั้นศาลอุทธรณ์
๑. การห้ามศาลอุทธรณ์พิพากษาเพิ่มเติมโทษจำเลย
๒. การให้อำนาจศาลอุทธรณ์พิพากษามีผลไปถึงจำเลยอื่นที่มิได้อุทธรณ์
บทที่ ๖ การพิจารณาพิพากษาคดีที่ส่งขึ้นมายังศาลอุทธรณ์ตามมาตรา ๒๔๕
หลักเกณฑ์ของมาตรา ๒๔๕ วรรคสอง
๑. ต้องเป็นสำนวนคดีที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ลงโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต
๒. ไม่มีการอุทธรณ์คำพิพากษานั้น
๓. ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งสำนวนคดีนั้นไปยังศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค
๔. คำพิพากษาเช่นว่านี้จะยังไม่ถึงที่สุด เว้นแต่ศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคจะได้พิพากษายืน
บทที่ ๗ สิทธิในศาลฎีกา
บทที่ ๘ ข้อจำกัดสิทธิในศาลฎีกา
๑. ข้อจำกัดสิทธิฎีกาตามมาตรา ๒๑๘
๒. ข้อจำกัดสิทธิฎีกาตามมาตรา ๒๑๙
๓. ข้อจำกัดสิทธิฎีกาตามมาตรา ๒๒๐
๔. ข้อจำกัดสิทธิฎีกาตามมาตรา ๒๑๙ ทวิ
๕. ข้อจำกัดสิทธิฎีกาตามมาตรา ๒๑๙ ตรี
๖. ข้อจำกัดสิทธิฎีกาในกรณีอื่น ๆ
บทที่ ๙ การอนุญาตหรือใบรับรองให้ฎีกา
บทที่ ๑๐ อำนาจศาลฎีกาในการสั่งไม่รับพิจารณาพิพากษาคดีที่ไม่เป็นสาระ
น้ำหนัก 1 กก.
Scroll to Top