คำอธิบาย
คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคความผิดและลหุโทษ ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ
ผู้แต่ง : ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 18 : มีนาคม 2564
จำนวนหน้า: 464 หน้า
ขนาด : 18.5×26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
สารบาญ
ข้อความเบื้องต้น
เค้าโครงการอธิบายกฎหมายอาญาภาค 2 ความผิด และ ภาค 3 ลหุโทษ
ภาค 2 ความผิด
ตอนที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับรัฐและความสงบสุขของสาธารณะ
ส่วนที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร
บทที่ 1 ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์และสถาบันประมุข
บทที่ 2 ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร
1. กบฏ
2. ความผิดฐานยุยงทหารหรือตำรวจให้หนีราชการ
3. ความผิดฐานปลุกปั่นยุยงประชาชน
4. ความผิดฐานเหยียดหยามเครื่องหมายที่แสดงถึงรัฐ
บทที่ 3 ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร
1. ความผิดฐานกระทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อราชอาณาจักร
2. ความผิดเกี่ยวกับความลับของประเทศ
3. ความผิดเกี่ยวกับส่วนได้เสียของรัฐ
4. ความผิดฐานกระทำการเพื่อให้เกิดเหตุร้ายแก่ประเทศภายนอก
5. บทบัญญัติพิเศษ
บทที่ 4 ความผิดต่อสัมพันธไมตรี
1. ความผิดฐานประทุษร้ายประมุขหรือผู้แทนของรัฐต่างประเทศ
2. ความผิดฐานหมิ่นประมาทประมุขหรือผู้แทนของรัฐต่างประเทศ
3. ความผิดฐานเหยียดหยามรัฐต่างประเทศ
บทที่ 5 การก่อการร้าย
1. ความผิดฐานการก่อการร้าย
2. ความผิดฐานขู่เข็ญว่าจะก่อการร้าย
3. ความผิดฐานเป็นสมาชิกของคณะผู้ก่อการร้าย
ส่วนที่ 2 ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
บทที่ 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงาน
1. ดูหมิ่นเจ้าพนักงาน
2. แจ้งความเท็จต่อเจ้าพนักงาน
3. ต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน
4. ข่มขืนใจเจ้าพนักงาน
5. กระทำต่อตราซึ่งเจ้าพนักงานประทับไว้
6. กระทำต่อสิ่งที่เจ้าพนักงานยึดไว้
7. เป็นคนกลางเรียกหรือรับสินบน
8. ให้สินบนเจ้าพนักงาน
9. แสดงตนและกระทำการเป็นเจ้าพนักงาน
10. สวมเครื่องแบบหรือประดับเครื่องหมายของเจ้าพนักงาน
บทที่ 2 ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ
1. ความผิดที่กระทำโดยสุจริต
2. ความผิดที่เป็นทั้งทุจริตและเกิดความเสียหาย
3. ความผิดที่ทำให้เกิดความเสียหายโดยไม่ถึงกับทุจริต
บทที่ 3 ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม
1. ให้สินบนเจ้าพนักงาน
2. ขัดขืนคำบังคับหรือคำสั่งของเจ้าพนักงาน
3. แจ้งความเท็จต่อเจ้าพนักงาน
4. แสดงความเท็จในศาล
5. ทำให้เสียหายแก่ทรัพย์ในคดี
6. การหลบหนีที่คุมขัง
7. ความผิดเกี่ยวกับการฝ่าฝืนวิธีการเพื่อความปลอดภัย
8. ขัดขวางการขายทอดตลาด
9. ดูหมิ่นศาล
10. การกระทำเกี่ยวกับศพ
บทที่ 4 ความผิดต่อตำแหน่งหน้าในการยุติธรรม
1. เจ้าพนักงานช่วยผู้อื่นไม่ให้ต้องโทษหรือแกล้งให้ได้รับโทษ
2. เจ้าพนักงานในการยุติธรรมเรียกหรือรับสินบน
3. เจ้าพนักงานเรียกหรือรับสินบนก่อนได้รับตำแหน่ง
4. เจ้าพนักงานขัดขวางมิให้เป็นไปตามคำพิพากษา
5. เจ้าพนักงานทำให้ผู้ถูกคุมขังหลุดไปจากที่คุมขัง
6. เจ้าพนักงานทำให้ผู้ถูกคุมขังหลุดไปจากที่คุมขังโดยประมาท
ส่วนที่ 3 ความผิดต่อการอยู่ร่วมกัน
บทที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับศาสนา
1. ความผิดฐานเหยียดหยามศาสนา
2. ความผิดฐานก่อการวุ่นวายในที่ประชุมศาสนิกชน
3. ความผิดฐานแต่งกายเป็นนักบวชโดยมิชอบ
บทที่ 2 ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน
1. ความผิดฐานเป็นอั้งยี่
2. ความผิดฐานเป็นซ่องโจร
3. ความผิดฐานช่วยเหลือพวกอั้งยี่หรือซ่องโจร
4. ความรับผิดร่วมกับอั้งยี่หรือซ่องโจร
5. ความผิดฐานช่วยเหลือผู้กระทำความผิด
6. ความผิดฐานก่อความวุ่นวาย
7. ความผิดฐานไม่ยอมเลิกมั่วสุมเมื่อเจ้าพนักงานสั่งให้เลิก
บทที่ 3 ความผิดเกี่ยวกับการก่อภยันตรายต่อประชาชน
1. การวางเพลิงเผาทรัพย์
2. การทำให้เกิดระเบิด
3. การก่ออันตรายเกี่ยวกับสิ่งปลูกสร้างและการก่อให้เกิดอุทกภัย
4. การก่ออันตรายแก่การจราจรและการขนส่ง
5. การก่ออันตรายแก่สิ่งที่ใช้ในการสาธารณูปโภคและการสื่อสาร
6. การปลอมปนอาหาร ยา หรือเครื่องอุปโภค
ส่วนที่ 4 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง
บทที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลงเงินตรา
1. ความผิดฐานปลอมเงินตรา
2. ความผิดฐานแปลงเงินตรา
3. การทำให้เหรียญกษาปณ์มีน้ำหนักลดลงและนำออกใช้
ซึ่งเหรียญกษาปณ์
4. ความผิดฐานนำเข้าซึ่งเงินตราที่ปลอมหรือแปลง
5. ความผิดฐานมีไว้เพื่อนำออกใช้ซึ่งเงินตราปลอมหรือแปลง
6. ความผิดเมื่อได้มาซึ่งเงินตราปลอมหรือแปลง
7. ความผิดเกี่ยวกับเครื่องมือปลอมแปลงเงินตรา
8. การปลอมแปลงเงินตราต่างประเทศ
9. การทำสิ่งที่คล้ายคลึงกับเงินตรา
บทที่ 2 ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา แสตมป์ และตั๋ว
1. ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา
2. ความผิดเกี่ยวกับแสตมป์
3. ความผิดเกี่ยวกับตั๋ว
บทที่ 3 ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
1. ความผิดฐานปลอมเอกสารทั่ว ๆ ไป
2. ความผิดฐานปลอมเอกสารสิทธิ
3. ความผิดฐานปลอมเอกสารบางชนิด
4. ความผิดฐานแจ้งให้จดข้อความเท็จ
5. ความผิดฐานใช้เอกสารปลอม
6. ความผิดฐานทำคำรับรองอันเป็นเท็จ
บทที่ 4 ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์
1. ทำบัตรปลอม
2. ทำหรือมีเครื่องมือปลอมบัตร
3. นำเข้า-ส่งออกบัตรหรือเครื่องมือปลอม
4. ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้
5. จำหน่ายหรือมีไว้เพื่อจำหน่าย
6. ใช้บัตรของผู้อื่นโดยมิชอบ
7. มีไว้เพื่อนำออกใช้ซึ่งบัตรของผู้อื่นโดยมิชอบ
8. เหตุเพิ่มโทษ
บทที่ 5 ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง
1. การปลอมหนังสือเดินทาง
2. การใช้หนังสือเดินทางของผู้อื่นโดยมิชอบ
3. การกระทำกับดวงตรา รอยตรา หรือแผ่นปะตรวจดวงตา
บทที่ 6 ความผิดเกี่ยวกับการค้า
1. ความผิดเกี่ยวกับเครื่องชั่งตวงวัดที่ผิดอัตรา
2. ความผิดฐานขายสินค้าโดยหลอกลวง
3. ความผิดเกี่ยวกับชื่อเสียงทางการค้า
4. ความผิดฐานปลอมเครื่องหมายการค้า
5. ความผิดฐานเลียนเครื่องหมายการค้า
6. ความผิดฐานนำเข้าหรือจำหน่ายสินค้าที่มีเครื่องหมาย
บทที่ 7 ความผิดเกี่ยวกับเพศ
1. ข่มขืนกระทำชำเรา
1.1 การข่มขืนกระทำชำเราผู้อื่น
1.2 การกระทำชำเราเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี
2. กระทำอนาจาร
3. ค้าบุคคลเพื่อความใคร่
3.1 จัดหาบุคคลเพื่อสนองความใคร่ของผู้อื่น
3.2 พาหญิงไปเพื่อการอนาจาร
3.3 ดำรงชีพจากรายได้ของหญิงค้าประเวณี
4. ค้าสิ่งลามก
ตอนที่ 2 ความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง และทรัพย์สิน
ส่วนที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับชีวิต และร่างกาย
บทที่ 1 ความผิดต่อชีวิต
1. ฆ่าผู้อื่น
2. เหตุฉกรรจ์
3. ฆ่าโดยไม่เจตนา
4. ฆ่าโดยประมาท
5. ทำให้ผู้อื่นฆ่าตัวตาย
6. ชุลมุนเป็นเหตุให้คนตาย
บทที่ 2 ความผิดต่อร่างกาย
1. ทำร้ายร่างกาย
2. เหตุเพิ่มโทษ
3. อันตรายสาหัส
4. ชุลมุนเป็นเหตุให้มีผู้รับอันตรายสาหัส
5. กระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
บทที่ 3 ความผิดฐานทำให้แท้งลูก
1. หญิงทำให้ตนเองแท้งลูก
2. การทำแท้งโดยหญิงยินยอม
3. การทำแท้งโดยหญิงไม่ยินยอม
4. การพยายามทำแท้ง
5. อำนาจในการทำแท้ง
บทที่ 4 ความผิดฐานทอดทิ้งผู้ที่พึ่งตนเองไม่ได้
1. การทอดทิ้งเด็ก
2. การทอดทิ้งผู้ที่พึ่งตนเองมิได้
3. เหตุเพิ่มโทษ
ส่วนที่ 2 ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง
บทที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพ
1. ข่มขืนใจผู้อื่น
2. หน่วงเหนี่ยวหรือกักขัง
3. หน่วงเหนี่ยวหรือกักขังโดยประมาท
4. ค้าคน
5. เรียกค่าไถ่
6. พรากผู้เยาว์
7. พาคนออกไปนอกราชอาณาจักร
บทที่ 2 ความผิดฐานเปิดเผยความลับ
1. การเปิดเผยจดหมาย โทรเลข หรือเอกสาร
2. การเปิดเผยความลับที่ได้จากหน้าที่หรืออาชีพ
3. การเปิดเผยความลับที่ได้จากการศึกษาอบรม
4. การแสวงหาประโยชน์จากความลับ
บทที่ 3 ความผิดฐานหมิ่นประมาท
1. การหมิ่นประมาท
2. การหมิ่นประมาทคนตาย
3. การหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณา
4. อำนาจกระทำ
5. เหตุยกเว้นโทษ
6. อำนาจศาลในคดีหมิ่นประมาท
ส่วนที่ 3 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
บทที่ 1 ความผิดที่มีพื้นฐานจากการลักทรัพย์
1. ความผิดฐานลักทรัพย์
2. ความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
3. ความผิดฐานชิงทรัพย์
4. ความผิดฐานปล้นทรัพย์
บทที่ 2 ความผิดฐานกรรโชกและรีดเอาทรัพย์
1. ความผิดฐานกรรโชก
2. ความผิดฐานรีดเอาทรัพย์
บทที่ 3 ความผิดฐานฉ้อโกง
1. ความผิดฐานฉ้อโกง
2. ความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน
3. ความผิดฐานฉ้อโกงแรงงาน
4. ความผิดฐานฉ้อโกงค่าอาหาร
5. ความผิดฐานชักจูงเพื่อเอาเปรียบผู้อื่น
6. ความผิดฐานฉ้อโกงประกันภัย
บทที่ 4 ความผิดฐานโกงเจ้าหนี้
1. ทำแก่ทรัพย์ที่จำนำไว้
2. ย้ายทรัพย์หรือแกล้งปล้นทรัพย์
บทที่ 4 ความผิดฐานยักยอก
1. ความผิดฐานยักยอก
2. ยักยอกทรัพย์ผู้อื่นส่งมอบให้โดยสำคัญผิดหรือเป็นทรัพย์สินหาย
3. ยักยอกทรัพย์ที่ตนมีหน้าที่ดูแล
4. ยักยอกทรัพย์สินที่มีค่าซ่อนหรือฝังไว้
บทที่ 6 ความผิดฐานรับของโจร
1. การรับของโจร
2. เหตุเพิ่มโทษ
บทที่ 7 ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
1. ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
2. เหตุเพิ่มโทษ
บทที่ 8 ความผิดฐานบุกรุก
1. ความผิดฐานบุกรุกอสังหาริมทรัพย์
2. ความผิดฐานยักย้ายทำลายเครื่องหมายเขต
3. ความผิดฐานบุกรุกอาคารหรือเคหสถานโดยไม่มีเหตุอันสมควร
4. เหตุเพิ่มโทษ
ภาค 3 ลหุโทษ
บทที่ 1 ความผิดอันเกี่ยวกับเจ้าพนักงาน
บทที่ 2 ความผิดอันเกี่ยวกับสาธารณะ
บทที่ 3 ความผิดอันเกี่ยวกับร่างกาย จิตใจ ชื่อเสียงและทรัพย์สิน
บทที่ 4 ความผิดอันเกี่ยวแก่ศีลธรรมอันดี
บรรณานุกรม
ดรรชนีเรียงมาตรา