หนังสือ คำอธิบายกฎหมายครอบครัว ประสพสุข บุญเดช

520฿

คำอธิบาย

คำอธิบายกฎหมายครอบครัว ประสพสุข บุญเดช
ผู้แต่ง :ประสพสุข บุญเดช
สารบัญ
บทที่ 1 การใช้บังคับกฎหมายครอบครัว
กฎหมายลักษณะผัวเมีย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 เดิม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ใหม่
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่แก้ไขในปี 2533
สถานะของครอบครัวตามกฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้
สามีภริยาตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย
สามีภริยาตามบรรพ 5 เก่า
สามีภริยาตามบรรพ 5 ใหม่
สามีภริยาตามบรรพ 5 ปัจจุบัน
การใช้กฎหมายอิสลามเกี่ยวกับครอบครัวและมรดกในสี่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีครอบครัว
บทที่ 2 การหมั้น
เงื่อนไขของการหมั้น
ชายและหญิงคู่หมั้นต้องมีอายุอย่างต่ำ 17 ปีบริบูรณ์
ผู้เยาว์ทำการหมั้นจะต้องได้รับความยินยอมของบิดามารดาหรือผู้ปกครองด้วย
แบบของสัญญาหมั้น
ของหมั้น
คู่สัญญาที่จะต้องรับผิดตามสัญญาหมั้น
สินสอด
วิธีการในการคืนของหมั้นหรือสินสอด
ถ้าของหมั้นหรือสินสอดนั้นเป็นเงินตรา
ถ้าของหมั้นหรือสินสอดนั้นเป็นทรัพย์สินอื่นที่มิใช่เงินตรา
ทรัพย์กองทุน
ทรัพย์รับไหว้
เรือนหอ
การผิดสัญญาหมั้นและค่าทดแทน
การหมั้นไม่เป็นเหตุฟ้องร้องบังคับให้สมรสได้
เมื่อมีการผิดสัญญาหมั้นจะต้องมีความรับผิดชดใช้ค่าทดแทนแก่กัน
ถ้าชายผิดสัญญาหมั้นหญิงไม่ต้องคืนของหมั้น แต่หากหญิงผิดสัญญาต้องคืนของหมั้นให้แก่ชาย
การระงับสิ้นไปแห่งสัญญาหมั้นและค่าทดแทน
คู่สัญญาหมั้นทั้งสองฝ่ายตกลงยินยอมเลิกสัญญา
ชายคู่หมั้นหรือหญิงคู่หมั้นถึงแก่ความตาย
การเลิกสัญญาหมั้นโดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบอกเลิกสัญญาหมั้นเนื่องจากมีสำคัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้นหรือหญิงคู่หมั้น
ค่าทดแทนในการเลิกสัญญาหมั้น
หลักเกณฑ์การคำนวณค่าทดแทนในเรื่องการหมั้นและอำนาจฟ้องเรียกค่าทดแทน
อายุความ
สัญญาจ้างแม่สื่อเพื่อจัดให้มีการหมั้นหรือการสมรส
บทที่ 3 การสมรส
ความหมายของการสมรส
เงื่อนไขแห่งการสมรส
ชายและหญิงต้องมีอายุ 17 ปีบริบูรณ์แล้วทั้งสองคน
ชายหรือหญิงต้องไม่เป็นคนวิกลจริตหรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
ชายและหญิงมิได้เป็นญาติสืบสายโลหิตต่อกันหรือเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดา
ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไม่ได้
ชายหรือหญิงมิได้เป็นคู่สมรสของบุคคลอื่นอยู่
ชายและหญิงยินยอมเป็นสามีภริยากัน
หญิงหม้ายจะสมรสมใหม่ได้ต่อเมื่อขาดจากการสมรสเดิมแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน
ผู้เยาว์จะทำการสมรสได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมของบิดามารดาหรือผู้ปกครอง
แบบแห่งการสมรส
การสมรสในต่างประเทศ
การสมรสในเหตุฉุกเฉิน
บทที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
การอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยาและช่วยเหลืออุปกรณ์เลี้ยงดูกัน
การแยกกันอยู่ต่างหากเป็นการชั่วคราว
การเป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ของคู่สมรส
การอุปการะเลี้ยงดูและกระทำตามสมควรเพื่อให้คู่สมรสที่วิกลจริตมีความปลอดภัย
การซื่อสัตย์ในความรักต่อกัน
การใช้คำนำหน้านามและชื่อสกุลของหญิงมีสามี
สัญชาติของสามีภริยา
ภูมิลำเนาและสิทธิเบ็ดเตล็ดของสามีภริยา
บทที่ 5 ทรัพย์สินและหนี้สินระหว่างสามีภริยา
สัญญาก่อนสมรสในเรื่องทรัพย์สิน
สัญญาระหว่างสมรสในเรื่องทรัพย์สิน
ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
สินส่วนตัว
การจัดการสินส่วนตัว
สินสมรส
การจัดการสินสมรส
ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน
หนี้สินของสามีภริยา
ความรับผิดในหนี้สินของสามีภริยา
หนี้ร่วมระหว่างสามีภริยา
การเอาทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาไปชำระหนี้
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย
การแยกสินสมรส
การช่วยกันออกค่าใช้สอยในกรณีที่ไม่มีสินสมรสเหลืออยู่แล้ว
บทที่ 6 การสมรสที่เป็นโมฆะ
ขอบเขตของการสมรสที่เป็นโมฆะ
เหตุที่ทำให้การสมรสเป็นโมฆะ
การกล่าวอ้างว่าการสมรสใดเป็นโมฆะ
การแจ้งให้นายทะเบียนสมรสบันทึกความเป็นโมฆะของการสมรส
ผลของการสมรสที่เป็นโมฆะ
บทที่ 7 การสิ้นสุดแห่งการสมรส
การสมรสที่สิ้นสุดลงด้วยความตาย
การสมรสที่เป็นโมฆียะ
เหตุที่ทำให้การสมรสเป็นโมฆียะ
การร้องขอเพิกถอนการสมรสในกรณีที่ผู้มีสิทธิขอเพิกถอนเป็นคนวิกลจริต
การให้สัตยาบันการสมรสที่เป็นโมฆียะ
ผลของการเพิกถอนการสมรสที่เป็นโมฆียะ
การหย่า
การหย่าโดยความยินยอมของทั้งสองฝ่าย
การหย่าโดยคำพิพากษาของศาล
เหตุฟ้องหย่า
สามีหรือภริยาอุปการะเลี้ยงดูหรือยกย่องผู้อื่นฉันสามีภริยาหรือสามี เป็นชู้ หรือมีชู้ หรือร่วมประเวณีกับผู้อื่นเป็นอาจิณ
สามีหรือภริยาประพฤติชั่ว
สามีหรือภริยาทำร้ายหรือทรมานร่างกายหรือจิตใจ หรือหมิ่นประมาทหรือเหยียดหยามอีกฝ่ายหนึ่งหรือบุพการีอีกฝ่ายหนึ่ง
สามีหรือภริยาจงใจละทิ้งร้างอีกฝ่ายหนึ่งไปเกินหนึ่งปี
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกเกินหนึ่งปี
สามีและภริยาสมัครใจแยกกันอยู่ หรือแยกกันอยู่ตามคำสั่งของศาลเป็นเวลาเกินสามปี
สามีหรือภริยาถูกศาลสั่งให้เป็นคนสาบสูญหรือไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่เป็นเวลาเกินสามปี
สามีหรือภริยาไม่ให้ความช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูอีกฝ่ายหนึ่งตามสมควรหรือทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการที่เป็นสามีหรือภริยากันอย่างร้ายแรง
สามีหรือภริยาวิกลจริตตลอดมาเกินสามปี
สามีหรือภริยาผิดทัณฑ์บนที่ทำให้ไว้เป็นหนังสือในเรื่องความประพฤติ
สามีหรือภริยาเป็นโรคติดต่ออย่างร้ายแรง
สามีหรือภริยาสภาพแห่งกายทำให้ไม่อาจร่วมประเวณีได้ตลอดกาล
ข้อยกเว้นในเหตุฟ้องหย่า
อายุความการฟ้องหย่า
กรณีที่คู่สมรสเป็นคนวิกลจริตและมีเหตุหย่าเกิดขึ้น
การขอให้ศาลมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวในระหว่างการพิจารณาคดีฟ้องหย่า
ผลของการหย่า
การใช้อำนาจปกครองบุตรหลังการหย่า
การอุปการะเลี้ยงดูบุตรหลังการหย่า
การเรียกค่าทดแทน
การเรียกค่าเลี้ยงชีพ
การแบ่งทรัพย์สินของสามีภริยา
ความรับผิดในหนี้สิน
อายุความสิทธิเรียกร้องระหว่างสามีภริยา
บทที่ 8 บิดามารดากับบุตร
เป็นบุตรท่าชอบด้วยกฎหมาย
เด็กที่เกิดระหว่างสมรส
เด็กที่เกิดจากการสมรสเป็นโมฆะ
เด็กที่เกิดจากการสมรสเป็นโมฆียะ
เด็กเกิดจากหญิงหม้ายซึ่งทำการสมรสใหม่ในเวลาไม่เกิน 310 วันนับแต่วันที่ขาดจากการสมรสเดิม
เด็กเกิดจากหญิงที่มิได้สมรสกับชาย
การฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็นบุตร
การฟ้องคดีปฏิเสธความเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย
การทำให้บุตรที่เกิดนอกสมรสกลายเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดา
บิดามารดาสมรสกันภายหลัง
บิดาจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร
การฟ้องคดีขอให้รับเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย
บทที่ 9 สิทธิและหน้าที่ระหว่างบิดามารดากับบุตร
สิทธิของบุตรในชื่อสกุล
สิทธิของบุตรในสัญชาติไทยตามบิดาหรือมารดา
บุตรจะฟ้องบุพการีไม่ได้
บุตรและบิดามารดาต่างมีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูกัน
บุตรมีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา
บิดามารดาทีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบุตร
การฟ้องคดีเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู
บุตรอยู่ใต้อำนาจปกครองของบิดามารดา
อำนาจการปกครองอยู่กับบิดามารดา
สิทธิทั่วไปของผู้ใช้อำนาจปกครอง
ผู้ใช้อำนาจปกครองเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของบุตรโดยอำนาจของกฎหมาย
การจัดการทรัพย์สินของบุตร
การถอนอำนาจปกครอง
เหตุในการถอนอำนาจปกครอง
ผลของการถอนอำนาจปกครอง
การคืนอำนาจปกครอง
บทที่ 10 ผู้ปกครองและผู้อยู่ในปกครอง
เหตุและวิธีการตั้งผู้ปกครอง
คุณสมบัติของผู้ที่จะเป็นผู้ปกครอง
จำนวนและการเริ่มต้นการเป็นผู้ปกครอง
สิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ในปกครอง
การสิ้นสุดแห่งความปกครองและความเป็นผู้ปกครอง
ผู้อนุบาลที่มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ใช้อำนาจปกครอง
บทที่ 11 บุตรบุญธรรม
คุณสมบัติของผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรม
เงื่อนไขการรับบุตรบุญธรรม
ความยินยอมในการรับบุตรบุญธรรม
การเป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลเพียงคนเดียว
การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม
การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ผลของการรับบุตรบุญธรรม
บุตรบุญธรรมมีฐานะเช่นเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรม
ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรม
ผู้รับบุตรบุญธรรมมีกรรมสิทธิ์เรียกร้องเอาทรัพย์สินที่ตนให้บุตรบุญธรรมคืนถ้าบุตรบุญธรรมถึงแก่ความตายไปก่อนตน
การเลิกรับบุตรบุญธรรม
การตกลงเลิกรับบุตรบุญธรรมกันเอง
การเลิกเมื่อผู้รับบุตรบุญธรรมสมรสกับบุตรบุญธรรม
การฟ้องคดีเลิกการรับบุตรบุญธรรม
ผลของการเลิกรับบุตรบุญธรรม
บทที่ 12 ค่าอุปการะเลี้ยงดู
หลักเกณฑ์ในการเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู
การเปลี่ยนแปลงเพิกถอนคำสั่งเรื่องค่าอุปการะเลี้ยงดู
วิธีการชำระค่าอุปการะเลี้ยงดู
สิทธิที่จะได้รับค่าอุปการะเลี้ยงดูจะสละหรือโอนไม่ได้
การยอมรับและบังคับตามคำพิพากษาของศาลต่างประเทศในเรื่องค่าอุปการะเลี้ยงดู