กฎหมายมหาชน เล่ม 1 วิวัฒนาการทางปรัชญา และลักษณะของกฎหมายมหาชนยุคต่างๆ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
สารบัญ
ความเบื้องต้น
ประวัติและวิวัฒนาการของปรัชญาและลักษณะของกฎหมายมหาชนในยุคต่าง ๆ โดยสังเขป
บทที่ 1 พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในยุคการแบ่งประเภทกฎหมายมหาชน/เอกชนในยุคโรมัน
บทที่ 2 ยุคกลาง: กฎหมายเอกชนครอบงำกฎหมายมหาชน
2.1 สภาพเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในยุคศักดินานิยม
2.2 สภาพกฎหมายในยุคกลาง
บทที่ 3 การแสวงหาแนวทางใหม่เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อย และเคารพกำหมาย: กำเนิดทฤษฎีเกี่ยวกับรัฐและอำนาจอธิปไตย
3.1 กำเนิดแนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับรัฐ
3.2 กำเนิดแนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย
3.3 รัฐและสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในความเป็นจริงทางการเมือง
3.4 รัฐและอำนาจอธิปไตยกับกฎหมาย
บทที่ 4 กำเนิดกฎหมายมหาชนยุคใหม่: การจำกัดอำนาจสูงสุดและการปกครองโดยประชาชน
4.1 ทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ: รากฐานของการจำกัดอำนาจรัฐ
4.2 ทฤษฎีเสรีนิยมทางการเมือง
4.2.1 จอห์น ล็อค: กำเนิดสัญญาประชาคม
4.2.2 รุสโซ: กำเนิดเจตนารมณ์ร่วมกันของปวงชนและอำนาจอธิปไตยของปวงชน
4.2.3 มงเตสกิเออ: กำเนิดทฤษฎีแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย
4.2.4 ซีเอเยส์: กำเนิดอำนาจอธิปไตยเป็นของชาติ
4.3 ทฤษฎีเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ
4.4 ผลทางปรัชญาเสรีนิยมประชาธิปไตยในทางการเมืองและกฎหมายมหาชน
4.4.1 การประกาศเอกราชของสหรัฐอเมริกา และการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับแรกของโลกปัจจุบัน
4.4.2 การปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศส ปี 1789: คำประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองฝรั่งเศส
4.5 การเผยแผ่หลักการประชาธิปไตยและกฎหมายมหาชนไปทั่วโลก
4.5.1 ลัทธิปัจเจกชนนิยม
4.5.2 ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยม
4.5.3 ลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ
บทที่ 5 กฎหมายมหาชนยุคปัจจุบัน: กฎหมายมหาชนครอบงำกฎหมายเอกชนเพื่อความเป็นธรรมของสังคม
5.1 จุดอ่อนของลัทธิเสรีนิยมและปัจเจกชนนิยม
5.1.1 จุดอ่อนทางการเมือง
5.1.2 จุดอ่อนทางสังคม
5.1.3 จุดอ่อนทางเทคโนโลยี
5.2 ทางเลือกใหม่ของสังคม
5.2.1 กระแสปฏิเสธเสรีนิยม
5.2.2 กระแสต่อเนื่องของเสรีนิยมและความพยายามแก้ไขจุดอ่อน
5.2.3 ลัทธิชาตินิยม
5.2.4 ลัทธิสังคมนิยม
5.3 ผลของปรัชญาแย้งปัจเจกชนนิยม/เสรีนิยมในทางการเมืองและในทางกฎหมายมหาชน
5.3.1 ผลในทางการเมือง
5.3.2 ผลในทางกฎหมาย: นิติสังคมรัฐและการที่กฎหมายมหาชนครอบงำกฎหมายเอกชน
บทที่ 6 กฎหมายมหาชนในอนาคตจะไปทางใด ?
6.1 การทดบทบาทของรัฐ
6.2 การรวมตัวทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
6.3 รัฐธรรมนูญสหภาพยุโรป ความพยายามจัดทำรัฐธรรมนูญนานาชาติ
6.4 การผลาญทรัพยากรและแนวโน้มอนุรักษ์สภาพแวดล้อม
6.5 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความแตกต่างของโลกพัฒนาแล้วและด้อยพัฒนา
6.6 จุดเปราะบางของอนาคต
6.7 คำประกาศแห่งสหรัฐสวรรษ และเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหรัสวรรษ
บรรณานุกรม