หนังสือ หลักกฎหมายพระธรรมนูญศาลยุติธรรม สุริยา ปานแป้น อนุวัฒน์ บุญนันท์

275฿

หมวดหมู่:
หลักกฎหมายพระธรรมนูญศาลยุติธรรม สุริยา ปานแป้น อนุวัฒน์ บุญนันท์
ผู้แต่ง : สุริยา ปานแป้น , อนุวัฒน์ บุญนันท์
สารบัญ
บทที่ 1 การจัดองค์กรศาลยุติธรรม
1. ชั้นของศาลยุติธรรม
1.1 ศาลชั้นต้น
1.2 ศาลชั้นอุทธรณ์
1.3 ศาลฎีกา
2.การบริหารงานศาลยุติธรรม
2.1 การแบ่งส่วนราชการเป็นแผนกหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น
2.2 การเปิดทำการสาขาของศาลชั้นต้น
2.3 การกำหนดและเปลี่ยนแปลงสถานที่ตั้งของศาล
2.4 การวางระเบียบราชการฝ่ายตุลาการของศาลยุติธรรมและคำแนะนำ
2.5 การจัดตั้งและยุบเลิกศาลหรือการเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาล
2.6 การกำหนดจำนวนผู้พิพากษาในศาลยุติธรรม
บทที่ 2 ผู้พิพากษาในศาลยุติธรรม
1. ประเภทของผู้พิพากษา
1.1 ผู้พิพากษาอาชืพ
1.1.1 ผู้พิพากษาที่มีอำนาจเต็ม
1.1.2 ผู้พิพากษาที่ถูกจำกัดอำนาจ
1.1.2.1 ผู้พิพากษาประจำศาล
1.1.2.2 ผู้พิพากษาอาวุโส
1.2 ดะโต๊ะยุติธรรม
1.3 ผู้พิพากษาสมทบ
2. ผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล
2.1 ตำแหน่งผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล
2.2 อำนาจหน้าที่ของผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล
2.2.1 อำนาจหน้าที่ทั่วไป
2.2.2 อำนาจหน้าที่เฉพาะเรื่อง
2.3 ตำแหน่งรองผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล
2.4 การทำการแทนผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล
2.4.1 เหตุที่ทำให้ต้องทำการแทนผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล
2.4.2 ผู้พิพากษาผู้ทำการแทนผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล
3. อธิบดีและรองอธิบดีผู้พิพากษาภาค
3.1 อธิบดีผู้พิพากษาภาค
3.2 รองอธิบดีผู้พิพากษาภาค
3.3 การทำการแทนอธิบดีผู้พิพากษาภาค
บทที่ 3 เขตอำนาจศาล
1. อำนาจศาล
1.1 อำนาจศาลชั้นต้น
1.1.1 อำนาจศาลคดีแพ่ง
1.1.2 อำนาจศาลคดีอาญา
1.1.3 อำนาจศาลจังหวัด
1.1.4 อำนาจศาลแขวง
1.1.5 อำนาจศาลชำนัญพิเศษ
2. เขตศาล
2.1 เขตศาลชั้นต้น
2.1.1 เขตศาลแพ่งและศาลอาญา
2.1.2 เขตศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี และศาลอาญาธนบุรี
2.1.3 เขตศาลจังหวัด
2.1.4 เขตศาลแขวง
2.1.5 เขตศาลชำนัญพิเศษ
2.2 เขตศาลชั้นอุทธรณ์
2.2.1 เขตศาลอุทธรณ์
2.2.2 เขตศาลอุทธรณ์ภาค
2.2.3 เขตศาลอุทธณร์คดีชำนัญพิเศษ
2.3 เขตศาลฎีกา
บทที่ 4 อำนาจของผู้พิพากษาคนเดียวและองค์คณะผู้พิพากษา
1. อำนาจของผู้พิพากษาคนเดียว
1.1 อำนาจของผู้พิพากษาคนเดียวในทุกชั้นศาล
1.1.1 ออกหมายเรียก หมายอาญา หรือหมายสั่งให้ส่งคนมาจากหรือไปยังจังหวัดอื่น
1.1.2 ออกคำสั่งใดๆ ซึ่งมิใช่เป็นไปในทางวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพากแห่งคดี
1.2 อำนาจของผู้พิพากษาคนเดียวในศาลชั้นต้น
1.2.1 ไต่สวนและวินิจฉัยชี้ขาดคำร้องหรือคำขอที่ยื่นต่อศาลในคดีทั้งปวง
1.2.2 ไต่สวนและมีคำสั้งเกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
1.2.3 ไต่สวนมูลฟ้องและมีคำสั่งในคดีอาญา
1.2.4 พิจารณาพิพากษาคดีแพ่งซึ่งมีทุนทรัพย์ที่พิพากไม่เกินสามแสนบาท
1.2.5 พิจารณาพิพากษาคดีอาญาซึ่งมีอัตราโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
2. องค์คณะผู้พิพากษา
2.1 องค์คณะผู้พิพากษาในศาลชั้นต้น
2.1.1 องค์คณะผู้พิพากษาที่เป็นบทหลัก
2.1.2 องค์คณะผู้พิพากษาที่เป็นข้อยกเว้น
2.1.2.1 องค์คณะผู้พิพากษาในศาลแขวง
2.1.2.2 องค์คณะผู้พิพากษาในศาลชำนัญพิเศษ ที่มีผู้พิพากษาสมทบ
2.1.2.3 องค์คณะผู้พิพากษาในคดีแพ่ง เกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดกอิสลามศาสนิก
2.2 องค์ตณะผู้พิพากษาในศาลชั้นอุทธรณ์และศาลฎีกา
2.2.1 องค์คณะผู้พิพากษาที่เป็นบทหลัก
2.2.2 องค์คณะผู้พิพากษาที่เป็นข้อยกเว้น
2.2.2.1 องค์คณะผู้พิพากษากรณีเข้าที่ประชุมใหญ่ ในศาลหรือแผนกคดี
2.2.2.2 องค์คณะผุ้พิพากษาในศาลฎีกา แผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
2.2.2.3 องค์คณะผู้พิพากษาในการพิจารณาคำร้องขออนุญาตฎีกาในคดีแพ่ง
บทที่ 5 การทำการแทนองค์คณะผู้พิพากษา
1. เหตุที่ทำไห้ต้องทำการแทนองค์คณะผู้พิพากษา
1.1 เหตุสุดวิสัย
1.2 เหตุจำเป็นอื่นอันมิอาจก้าวล่วงได้
1.2.1 เหตุเกี่ยวกับตัวผู้พิพากษา
1.2.2 เหตุเกี่ยวกับเรื่องในทางคดี
2. ผู้มีอำนาจทำการแทนองค์คณะผู้พิพากษา
2.1 ผู้มีอำนาจทำการแทนองค์คณะผู้พิพากษา ในระหว่างการพิจารณาคดี
2.2 ผู้มีอำนาจทำการแทนองค์คณะผู้พิพากษา ในระหว่างการทำคำพิพากษาคดี
บทที่ 6 การบริหารสำนวนคดี
1. การจ่ายสำนวนคดี
1.1 ผู้มีอำนาจจำยสำนวนคดี
1.2 หลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายสำนวนคดี
2. การเรียกคืนหรือการโอนสำนวนคดี
2.1 ผู้มีอำนาจเรียกคืนหรือโอนสำนวนคดี
2.2 ผู้มีอำนาจในการเสนอความคิดเห็น
2.3 หลักเกณฑ์และวิธีการเรียกคืนหรือโอนสำนวนคดี
3. การขอคืน รับคืน และโอนสำนวนคดี
3.1 การขอคืนสำนวนคดี
3.2 การรับคืนสำนวนคดี
3.3 การโอนสำนวนคดี
น้ำหนัก 1 กก.
Scroll to Top