หนังสือ คดีซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ และการขายฝาก สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

Original price was: 500฿.Current price is: 475฿.

หมวดหมู่:

คำอธิบาย

คดีซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้และการขายฝาก สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
ผู้แต่ง : สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
สารบัญ
บทที่ 1  ความหมายและสาระสำคัญของสัญญาซื้อขาย (มาตรา 453)
1.1 สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาที่มีคู่สัญญา 2 ฝ่าย
1.1.1 ผู้ขาย
(1) เจ้าของรวมคนใดได้ทำการจำหน่ายหรือขายทรัพย์สินไปทั้งหมด
(2) ผู้ขายไม่จำเป็ยต้องเป้นเจ้าของทรัพย์สินในขณะทำสัญญาซื้อขาย
(3) ข้อยกเว้นหลัก “ผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน”
(4) บุคคลที่ไม่ได้เป็นเจ้าของกรรมสทธิ์สามารถขายทรัพย์สินได้
1.1.2 ผู้ซื้อ
(1) คนต่างด้าวได้มาซึ่งที่ดิน
1.2 วัตถุประสงค์ของการทำสัญญาซื้อขายและเปรียบเทียบกับสัญญาอื่น
1.2.1 สัญญาซื้อขายต่างจากสัญญาจ้างทำของ
1.2.2 ซื้อขายเป็นสัญญาต่างตอบแทน
1.2.3 ซื้อขายเป็นสัญญาที่ผู้ขายมุ่งโอนกรรมสิทธิ์
1.2.4 ซื้อขายเป็นสัญญศที่ผู้ขายมุ่งจะใช้ราคา
1.2.5 สัญาญาซื้อขายต่างจากสัญญาเช่าซื้อ
1.2.6 สัญญษซื้อขายต่างจากสัญญาแลกเปลี่ยน
1.2.7 สัญญาซื้อขายต่างจากสัญญาให้
1.2.8 สัญญาซื้อขายต่างจากสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
1.2.9 ซื้อขายกับสัญญาเข้าหุ้นส่วน
1.2.10 ต้องไม่ขัดต่อความเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
1.3 วัตถุของสัญญาเช่าซื้อขาย
1.3.1 ทรัพย์
1.3.2 สิ่งที่ไม่มีรูปร่างแต่อาจมีราคาและถือเอาได้
1.3.3 ทรัพย์สินที่คู่สัญญาจะนำมาเป็นวัตถุแห่งสัญญาซื้อขาย
1.4 ผู้ซื้อตกลงจะชำระราคาให้กับผู้ซื้อ
บทที่ 2 ประเภทของนิติกรรมเกี่ยวกับสัญญาการซื้อขาย
2.1 คำมั่นจะซื้อขาย (มาตรา 454)
2.1.2 ผลของคำมั่นจะซื้อหรือจะขาย
2.2 สัญญษจะซื้อจะขาย (มาตรา 456 วรรค 2)
2.2.1 ควาแตกต่างระหว่างคู่สัญญาเป็นสัญญาจะซื้อจะขายที่ไม่ใช่ซื้อขายเสร็จเด็ดขาดเพราะคู่สัญญาตกลงจะไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์กัน
2.2.2 ผลขอลสัญญาจะซื้อหรือจะขาย
2.2.3 สัญญาวางมัดจำกับใบสั่งจองว่าจะเป็นลักษรซื้อขายหรือไม่
2.3 สัญญาซื้ขายเสร็จเด็ดขาด
2.3.1 คู่สัญญามีเจตนาไปจดทะเบียนเป็นสัญญาจะซื้อจะขาย
2.3.2 คู่สัญญาไม่มีเจตนาจะไปจดทะเทียนเป็นสัญญาเสร็จเด็ดขาด
2.4 สัญญาซื้อขายมีเงื่อนไข (มาตรา 459)
2.5 สัญญาซื้อขายมีเงื่อนเวลา (มาตรา 459)
บทที่ 3 แบบและหลักดกณฑ์การทำสัญญาซื้อขาย (มาตรา 456)
3.1 สัญญาซื้อขายจะเกิดขึ้นเมื่อคำเสนอและคำสนองถูกตรงกัน
3.2 สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์
3.2.1 การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
3.2.2 การซื้อขายสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
3.3 ต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา 456 วรรค 1)
3.3.1 ผลของการทำสัญญาซื้อขายเป็ยหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้านักงานเจ้าหน้าที่
3.3.2 ผลขอการทำไม่ถูกต้องตามแบบ
(1) สัญญาซื้อขายตกเป็นโมฆะ
(2) กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ยังไม่โอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อ
1) ขายอสังหาริมย์ให้แก่ทางราชการ
2) การซื้อขายที่ดินมือเปล่า
3) การครอบครองปรปักษ์
(3) ผุ้ซื้อฟ้องผู้ขายให้โอนหรือส่งมอบทรัพย์สินไม่ได้
(4) ผู้ขายฟ้องให้ผู้ซื้อชำระราคาไม่ได้
(5) สรุปนิติกรรมการซื้อขายแต่ละประเภทต้องการแบบหรือหลักฐานแตกต่างกัน
(6) แบบของสัญญาซื้อขายและหลักฐานการฟ้องร้องบังคับคดี
3.4 สัญญาจะซื้อจะขายหรือคำมั่นจะซื้อจะขายอสังหาริมหรัพย์ชนิดพิเศษ (มาตรา 456 วรรค 2)
3.4.1 มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อผู้ที่ต้องรับผิดเป็บสำคัญ
3.4.2 มีการวางประจำ
3.4.3 การชำระหนี้บางส่วน
3.4.4 ผลของการไม่ปฏิบัติตาม
3.5 สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขายซึ่งสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาสองหมื่นบาท หรือมากกว่านั้นขึ้นไป (มาตรา 456 วรคค 3
3.5.1 ผลของการไม่ปฏิบัติตาม มาตรา 456 วรรค 3
3.5.2 มาตรา 456 วรรค 3ไม่ใช่บัญญัติเกี่ยวกับความสงบเรีบยร้อยฯ
3.6 ข้อความแห่งสัญญาหรือความตกลงแห่งปัญหา (ป.วิ.แพ่ง มาตรา 93,94)
3.7 ค่าฤชาธรรมเนียมการทำสัญญาซื้อขาย (มาตรา 457)
3.8 การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย (มาตรา 458)
3.9 สัญญาซื้อขายที่มีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาในการโอนกรรมสิทธิ์ (มาตรา 455,459)
3.10 สัญญาซื้อขายสินทรัพย์ที่ยังมิได้กำหนดลงไว้แน่นอน (มาตรา 460)
3.10.1 การซื้อขายสินทรัพย์ซึ่งมิได้กำหนดเวลาไว้แน่นอน
3.10.2 ทรัพย์สินเฉพาะสิ่งซึ่งมีการนับ ชั่ง ตวง วัด ฯ
3.10.3 การซื้อขายแบบเหมา
3.10.4 การโอนกรรมสิทธิ์เกี่ยวกับรถยนต์
บทที่ 4 หน้าที่ ความรับผิดและสิทธิของผู้ขาย
4.1 หน้าทีโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่ผู้ซื้อ
4.2 หน้าที่ไปดำเนินการอื่นๆ ตามที่กฎหมายกำหนด
4.3 หน้าที่ส่งมอบทรัพย์สินให้แ่ผู้ซื้อ (มาตรา 461)
4.3.1 กรณีที่ผู้ส่งมอบทรัพย์สินที่มีจำนวนไม่ตรงตามที่ได้
(1) การซื้อขายสังหาริมทรัพย์ (มาตรา 465)
(2) การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ (มาตรา 466)
1) ผู้ซื้อบอกปัดไม่รับที่ดินทั้งหมด
2) ผู้ซื้อรับเาไว้แต่ใช้ราคาตามสัดส่วน
3) การขาดตกบกพร่องอาจเป็นด้วยสาเหตุอื่น
4) กรณีที่เป็นการซื้อขอายอสังหาริมทรัพย์ที่มีข้อตลงกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายชัดเจน
5) ไม่เป็นบทบัญญัติที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย ฯ
6) คู่สัญญาอาจตกลงกันว่าแม้เนื้อทีขาดหรือต่ำกว่าร้อยละห้าก็ให้ผู้ซื้อมีสิทธิเลิกสัญญาได้
4.3.2 อายุความกรณีผู้ขายส่งมอบขาดตกบกพร่องหรือล้ำจำนวน (มาตรา 467)
4.3.3 สถานที่ส่งมอบทรัพย์สิน (มาตรา 462)
4.3.4 กำหนดเวลาการส่งมอบทรัพย์สิน (มาตรา 468,486)
4.3.5 สภาพทรัพทชย์สินที่ส่งมอบ
4.4 ความรับผิดเพื่อการชำรุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย (มาตรา 472)
4.4.1 ผู้ซื้อมีสิทธิปฏิเสธไมารบมอบทรัพย์สินที่ชุดรุดบกพร่อง
4.4.2 ผู้ซื้อมีสิทธิเรียกให้ผู้ขายซ่อมแซมความชำรุดบกพร่อง
4.4.3 ผู้ซื้อมีสิทธิเลิกสัญญาและอาจเรียกค่าเสียหายได้
4.4.4 ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อความชำรุดบกพร่อง (มาตรา 473)
4.4.5 อายุความฟ้องผู้ขายให้รับิดเพื่อความชำรุดบกพร่อง
4.5 ความรับผิดเพื่อการรอนสิทธิ
4.5.1 ผู้ซื้อถูกรอนสิทธิ
4.5.2 การรอนสิทธิผู้ขายจะต้องรับผิด
4.5.3 ความผิดในการรอนสิทธิแม้คู่สัญญาไม่ได้ตกลง
4.5.4 ผลของการรอนสิทธิที่ผู้ขายต้องรับผิด
4.5.5 ข้อยกเว้นความรับผิดของผู้ขายเพื่อการรอนสิทธิ
(1) ผุ้ซื้อรู้อยู่แล้ว (มาตรา 476)
(2) อสังหาริมพชทรัพย์ตกอยู่ภายใต้ภาระจำยอม (มาตรา 480)
(3) ไม่มีการฟ้องคดี (มาตรา 482(1))
(4) ผู้ซื้อไม่ได้เรียกผู้ขายเข้ามาในคดี (มาตรา 482(2))
(5) ผู้ขายไม่ได้เข้ามาในคดี (มาตรา 482(3))
(6) เป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดิน
(7) คู่สัญญาซื้อขายตกลงกัน (มาตรา 485)
(8) ผู้ขายปกปิด (มาตรา 485)
(9) ผู้ซื้อฟ้องผู้ขายพ้นอายุความเพื่อการรอนสิทธิ (มาตรา 481)
บทที่ 5 หน้าที่ของผู้ซื้อ
5.1 หน้าที่รับมอบทรัพย์สิน (มาตรา 486)
5.2 หน้าที่ชำระราคาทรัพย์สิน (มาตรา 486)
5.2.1 ผู้ซื้อต้องชำระราคาให้ผู้ขายในอัตราใด (มาตรา 486)
5.2.2 ผู้ซื้อสามารถยึดหน่วงราคาไม่ได้ (มาตรา 488)
5.2.3 ผู้ซื้อถูกขู่ว่าจะฟ้องคดีหรือมีเหตุอันควรเชื่อว่าเป็นเช่นนั้น (มาตรา 489)
บทที่ 6 การซื้อขายเฉพาะอย่าง
6.1 การขายฝาก
6.1.1 ความหมายและสาระสำคัญของฝาก (มาตรา491)
(1) สัญญาขายฝากมีคู่สัญญา 2 ฝ่าย
(2) วัตถุแห่งสัญญาขายฝากคืนทรัพย์สิน
(3) วัตถถุประสงค์ของสัญญาขายฝาก
6.1.2 หลักเกณฑ์และแบบในการทำสัญญศขายฝาก
6.1.3 ข้อจำกัดสิทธิของผู้ซื้อฝาก (มาตรา 493)
6.1.4 ผู้มีสิทธิไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝาก (มาตรา 497)
6.1.5 ผู้มีหน้าที่และสิทธิรับไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝาก (มาตรา 497)
6.1.6 เวลาที่ผู้ขายฝากมีสิทธิไถ่ถอน (มาตรา 492,494,495)
6.1.7 หลักเกณฑ์ในการขยายเวลาไถ่ (มาตรา 496)
6.1.8 จำนวนสินไถ่ (มาตรา 499)
6.1.9 ค่าฤชาธรรมเนีบมในการขายฝาก (มาตรา 500)
6.1.10 ผลของการไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝาก (มาตรา 492)
6.2 การขายตามตัวอย่าง (มาตรา 503-504)
6.3 การขายตามคำพรรณนา (มาตรา 503-504)
6.3.1 ความหมายของการขายตามคำพรรณนา
6.3.2 อายุความผู้ซื้อฟ้องผู้ขายส่งมอบมทรัพย์สินไม่ตรงตามคำพรรณนา (มาตรา 504)
6.4 การขายเผื่อชอบ (มาตรา 505-508)
6.4.1 ช่วงระยะเวลาที่ผู้ซื้อจะตรวจดูทรัพย์สิน (มาตรา 506-508)
6.4.2 ความบริบูรณ์ของการซื้อขายเผื่อชอบ
6.5 การขายทอดตลาด
6.5.1 การขายทอดตลาดเกิดขึ้น 2 วิธี
6.5.2 ห้ามผู้ขายทรัพย์เข้าสู้ราคา (มาตรา 512)
6.5.3 ผู้ขายทอดตลาดเข้าราคาเองไม่ได้ (มาตรา 511)
6.5.4 ความบริบูร์ของการขายทอดตลาด
6.5.5 การเพิกถอนการขายทอดตลาด
6.5.6 หน้าที่ของผูซื้อทรัพย์ทอดตลาด (มาตรา 510,515-517)
หมวดที่ 2 สัญญาแลกเปลี่ยน (มาตรา 518-512)
บบที่ 7 ความหมายและสาระสำคัญของสัญญาแลกเปลี่ยน
7.1 ผู้เป้นคู่สัญญาแลกเปลี่ยน
7.1.1 สัญญาแลกเปลี่ยนมีคู่สัญญา 2 ฝ่าย
7.1.2 วัตถุสัญญาแห่งการแลกเปลี่ยน
7.1.3 วัตถุประสงค์ของสัญญาแลกเปลี่ยนเป้นสัญญาต่างตอบแทน
7.1.5 สัญญาจะแลกเปลี่ยน
7.2 การนำบทบัญญัติเรื่องการซื้อขายมาใช้บังคับ
7.3 ประเภทของสัญญาแลกเปลี่ยน
หมวดที่ 3 สัญญาให้ (มาตรา 521-536)
บทที่ 8 ลักษณะสำคัญของสัญญาการให้
8.1 ความหมายและสาระสำคัญของการให้ (มาตรา 521)
8.1.1 สัญญาให้มีคู่สัญญา 2 ฝ่าย
8.1.2 วัตถุแห่งสัญญาให้
8.1.3 วัตุุประสงค์ของสัญญาให้ 8.1.4 ผู้รับยอมรับเอาทรัพย์สินนั้น
8.2 แบบการให้ (มาตรา 523)
8.3 การส่งมอบและข้อยกเว้นการส่งมอบ
8.3.1 การให้สิทธิอันมีหนังสือตราสารเป็นสำคัญ (มาตรา 542)
8.3.2 การให้อสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
8.3.3 ผลของการให้ที่มิได้ทำให้ถูกต้องตามมาตรา 525
8.4 คำมั่นว่าจะให้ทรัพย์สิน (มาตรา 529)
8.5 การให้ทรัพย์สินอันมีค่าภาระติดพัน (มาตรา 528-530)
8.5.1 ภาระติดพันในทรัพย์สินที่ยกให้
8.5.2 หน้าที่ขงผู้รับให้
8.6 การถอนคืนการให้
8.6.1 การถอนคืนการให้เพราเหตุประพฤติเนรคุณ (มาตรา 531)
8.6.2 ผู้เพิกถอนการให้เพราะเหตุประพฤติเนรคุณไม่ได้ (มาตรา 532,535)
8.6.3 อายุความฟ้องคดี (มาตรา 533)
ภาคผนวก
1. พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ.2545
2. พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560
3. พระราชบัญญัติความผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.2551
4. พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ.2540
5. คำพิพากษาศาลฎีกาที่สำคัญตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ.2540
6. ตัวอย่าง สัญญาต่างๆ ที่สำคัญ
7. ตังอย่าง คำฟ้อง
8. ตังอย่างคำถาม คำตอบ ข้อสอบพร้องข้อสังเกต
9. กฎทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีและเงื่อนไขการขายทอดตลาด พ.ศ.2559
10. ประกาศอธิบดีกรมบังคับคดี เรื่อง แบบประกาศขายทอดตลาด (ฉบับที่ 8)
บรรณานุกรม

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 1 กก.