ตรียมสอบเข้านิติศาสตร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ผู้แต่ง : พรรษวัฒน์ พูนทองพันธ์, ประพัฒน์พงศ์ ปรีชา, อนุวัฒน์ บุญนันท์
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 11: กุมภาพันธ์ 2564
จำนวนหน้า : 340 หน้า
ขนาด : 18.5 x 26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
สารบัญ
ภาค1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
1. ความหมายของกฎหมาย
2. วิวัฒนาการของกฎหมาย
3. บ่อเกิดของกฎหมาย
4. ลำดับชั้นของกฎหมายลายลักษณ์อักษร
5. ประเภทของกฎหมาย
6. ระบบกฎหมาย
7. ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมาย
8. โครงสร้างของบทบัญญัติแห่งกฎหมายลายลักษณ์อักษร
9. การใช้และการตีความกฎหมาย
10. สิทธิ
11. ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย
ภาค 2
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บทที่ 2 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
1. ความหมายของกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2. การจัดทำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
3. ลักษณะสำคัญของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บทที่ 3 กฎหมายลักษณะบุคคล
1. ความหมายของบุคคล
2. บุคคล ธรรมดา
3. นิติบุคคล
4 ภูมิลำเนาของบุคคล
บทที่ 4 กฎหมายลักษณะนิติกรรม
1. ความหมายของนิติกรรม
2. องค์ประกอบของนิติกรรม
3. ประเภทของนิติกรรม
4. ความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม
5. การเสดงเจตนา
6. เงื่อนไขและเวลา
7. อายุความ
บทที่ 5 กฎหมายลักษณะหนี้
1. ความหมายของหนี้
2. บ่อเกิดแห่งหนี้
3. หนี้ที่ไม่อาจบังคับได้ตามกฎหมาย
4. ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้
5. การชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย
6. การควบคุมกองทรัพย์สินของลูกหนี้
7. ความระงับแห่งหนี้
8. สัญญา
9. ละเมิด
บทที่ 6 กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
1. ข้อความเบื้องต้น
2. สัญญาซื้อขาย
3. สัญญาแลกเปลี่ยน
4. สัญญาให้
5. สัญญาเช่าทรัพย์
6. สัญญาเช่าซื้อ
7. สัญญาจ้างแรงงาน
8. สัญญาจ้างทำของ
9. สัญญายืม
10. สัญญาฝากทรัพย์
11. สัญญาค้ำประกัน
12. สัญญาจำนอง
13. สัญญาจำนำ
14. สัญญาประกันภัย
15. สัญญาตั๋วเงิน
16. สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบริษัท
บทที่ 7 กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน
1. ความหมายของทรัพย์และทรัพย์สิน
2. ประเภทของทรัพย์สิน
3. ส่วนควบ อุปกรณ์ และดอกผล
4. สาธารณสมบัติของแผ่นดิน
5. กรรมสิทธิ์
6. การครอบครองปรปักษ์
7. ทางจำเป็นและภาระจำยอม
8. หลักเกณฑ์อื่นๆ ที่หน้าสนใจ
บทที่ 8 กฎหมายลักษณะครอบครัว
1. ข้อความเบื้องต้น
2. การหมั้น
3. การสมรส
4. บิดามารดากับบุตร
บทที่ 9 กฎหมายลักษณะมรดก
1. ข้อความเบื้องต้น
2. ความหมายของมรดก
3. เวลาที่มรดกตกทอดแก่ทายาท
4. ผู้มีสิทธิได้รับมรดก
5. การรับมรดกของพระภิกษุ
6. การเสียสิทธิในการรับมรดก
7. พินัยกรรม
8. ผู้จัดการมรดก
9. มรดกที่ไม่มีผู้รับ
ภาค 3
กฎหมายอาญา
บทที่ 10 กฎหมายอาญาทั่วไป
1. ความหมายและลักษณะของกฎหมายอาญา
2. ประมวลกฎหมายอาญา
3. ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญา
4. ประเภทของความผิดในทางอาญา
5 .โครงสร้างความรับผิดในอาญา
6. เหตุลดโทษ
7. การพยายามกระทำความผิด
8. ผู้กระทำความผิดหลายคน
9. โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย
บทที่ 11 กฎหมายอาญาภาคความผิด
1. ข้อความเบื้องต้น
2. ความผิดต่อชีวิต
3. ความผิดต่อร่างกาย
4. ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
5. ความผิดฐานอื่นๆ ที่น่าสนใจ
ภาค 4
กฎหมายมหาชน
บทที่ 12 กฎหมายรัฐธรรมนูญ
1. ความหมายของกฎหมายรัฐธรรมนูญ
2. หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
3. รัฐ รูปแบบของรัฐ และรูปแบบการปกครอง
4. การกระทำของรัฐ
5. หลักการพื้นฐานของรัฐเสรีประชาธิปไตย
6. รัฐสภา
7. คณะรัฐมนตรี
8. ศาล
9. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
10. การเลือกตั้ง
11. พรรคการเมือง
12. หลักการอื่นๆ ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
บทที่ 13 กฎหมายปกครอง
1. ความหมายของกฎหมายปกครอง
2. ฝ่ายปกครอง
3. การกระทำทางปกครอง
4. หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
5. หลักการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
6. ความผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ภาค 5
กฎหมายพิเศษ
บทที่ 14 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
1. ความหมายและลักษณะของทรัพย์สินทางปัญญา
2. กฎหมายลิขสิทธิ์
3. กฎหมายสิทธิบัตร
4. กฎหมายเครื่องหมายการค้า
บทที่ 15 กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
1. กฎหมายทะเบียนราษฎร
2. กฎหมายชื่อบุคคล
3. กฎหมายสัญชาติ
4. กฎหมายภาษีอากร
5. กฎหมายแรงงาน
6. กฎหมายล้มละลาย
ภาค 6
แบบฝึกหัดและเฉลย
บทที่ 16 แบบฝึกหัด
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย
2. ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย
บทที่ 17 เฉลย แบบฝึกหัด
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย
2. ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย
บรรณานุกรม