คำอธิบาย
ประกอบด้วยเนื้อหาแบ่งเป็น 3 หมวด ดังนี้
หมวดที่ 1 ศึกษาบัญญัติหลักการใช้และความรับผิดทางอาญา
บทที่ 1ความหมายและลักษณะของกฏหมายอาญา
บทที่ 2 พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฏหมายอาญา พ.ศ.2499
บทที่ 3 บทนิยาม
บทที่ 4 การใช้กฏหมายอาญา
บทที่ 5 การนำหลักในภาค1 แห่งประมวลกฏหมายอาญาไปใช้กับกฏหมายอื่น
บทที่ 6 ประเภทความผิด
บทที่ 7 สาระสำคัญของความผิด
บทที่ 8 การเริ่มต้นของความผิด
บทที่ 9 เหตุที่ผู้กระทำมีอำนาจทำได้
บทที่ 10 เหตุยกเว้นและลดหย่อนอาญา
บทที่ 11 การกระทำความผิดหลายบทหรือหลายกระทง
บทที่ 12 กระทำความผิดอีก
บทที่ 13 การร่วมกระทำความผิดด้วยกัน
บทที่ 14 เหตุเกี่ยวกับตัวบุคคลผู้กระทำความผิด
บทที่ 15 หลักพิเศษที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ
บทที่ 16 คดีเป็นอันระงับไปเพราะโทษปรับสถานเดียว
หมวดที่ 2 โทษ
บทที่1 ชนิดของโทษและหลักเกณฑ์ของโทษอาญา
บทที่ 2 วิธีเพิ่มโทษและลดโทษ
บทที่ 3 การยกโทษจำคุก การรอการลงโทษและรอการกำหนดโทษ
บทที่ 4 การระงับของโทษและความผิด
หมวดที่ 3 วิธีการเพื่อความปลอดภัย
บทที่ 1 การใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
บทที่ 2 ชนิดของวิธีการเพื่อความปลอดภัย