กทม. เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 30 ม.ค. -13 ก.พ. 2566 รวม 528 อัตรา,

กทม. เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 30 ม.ค. -13 ก.พ. 2566 รวม 528 อัตรา,

กทม. เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 30 ม.ค. -13 ก.พ. 2566 รวม 528 อัตรา,

กทม.

ลิงค์: https://ehenx.com/18029/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน,นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน,นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน,นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน,นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน,พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน,พนักงานปกครองปฏิบัติงาน,พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน,โภชนากรปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ,นักพัฒนาการท่องเที่ยวปฏิบัติการ,นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ,นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ,นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ,นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ,นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ,นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ,นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ,มัณฑนากรปฏิบัติการ
ระดับการศึกษา: ปวช.,ปวช.ทุกสาขา,ปวช.,ปวส.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 9,400-15,800
อัตราว่าง: 528
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 30 ม.ค. – 13 ก.พ. 2566
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**



กทม. เปิดรับสมัคร

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๖

ด้วยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร (สำนักงาน ก.ก.) จะดำเนินการ สอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๔ (๙) มาตรา ๒๙ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ-ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ มติ ก.ก. ครั้งที่ ๒/๒๕๖๐ เมื่อ่วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ มติ ก.ก. ครั้งที่ ๙/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๑ และมติ ก.ก. ครั้งที่ ๑๑/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้ง บุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ในตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และ ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคล เข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำนวน ๓๒ ตำแหน่ง ดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 8 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 93 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 28 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 83 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 29 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 51 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 18 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 18 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 9 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 28 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 10 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 19 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 50 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 17 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


โภชนากรปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักพัฒนาการท่องเที่ยวปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 10 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 30 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


มัณฑนากรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์
๒. ได้รับประกาศบียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใด สาขาวิชาหนึ่งทางการเกษตร หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เกษตรศาสตร์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาธุรกิจเกษตรและสหกรณ์ ทางธุรกิจเกษตร สาขาวิชา เทคโนโลยีภูมิทัศน์ หรือสาขาวิชาพืชศาสตร์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๒. ได้รับประกาศนียบัดรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปีต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาชาวิชา
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้1นระดับเดียวกัน หรืออนปริญญา หลักสูตร ๓ ปีต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๒. ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้!นระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปีต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๒. ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออบุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปีต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาชาวิชา
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งด้งต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนิยบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๒. ได้รับประกาศบียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓. ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพขั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไต้ในระดับเดียวกัน ทางการอนามัย ทางผู้ช่วย-พยาบาล ทางการสาธารณสุข หรือทางอาซีวอนามัยและความปลอดภัย ชี่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๓ ปี ต่อจาก ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนต้น หรือไม่น้อยกว่า ๑ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
๒. ได้รับประกาศบียบัตรหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทางการสาธารณสุข ทางการพยาบาล ทางการพยาบาลและผดุงครรภ์ ทางโภชนาการ ทางเชลล์วิทยา ทางการแพทย์แผนไทย หรือทางพนักงานอนามัย ซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า๒ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าหรือ อนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
๓. ได้รับประกาศนืยบัตรหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทางการสาธารณสุข ทางการพยาบาล ทางโภชนาการ ทางพยาธิวิทยา หรือทางเซลล์วิทยา ซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๓ ปี ต่อจากประกาศนึยบัตร มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือประกาศนืยบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทางการสาธารณสุข ทางการสาธารณสุขชุมชน ทางโภชนาการ ทางการแพทย์แผนไทย ทางเวชกิจอุกเฉิน หรือทางสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ หรือสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์


เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งด้งต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ ทางช่างอิเล็กทรอนิกส์ ทางช่างวิทยุและโทรคมนาคม ทางช่างวิทยุ ทางช่างโทรคมนาคม ทางช่างอเล็กโทรนิกส์ ทางช่างไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ทางเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือทางช่างไฟฟ้า หรือสาขาวิชา เทคโนโลยีโทรคมนาคม ทางการสื่อสาร ทางสัญญาณวิทยุ หรือทางช่างวิทยุ
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า ทางช่างไฟฟ้า หรือสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กโทรนิกส์ ทางช่างอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางช่างไฟฟ้า หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางช่างไฟฟ้า
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา อิเล็กทรอนิกส์ ทางช่างอิเล็กทรอนิกส์ ทางช่างโทรคมนาคม ทางช่างวิทยุและโทรคมนาคม ทางช่างวิทยุ หรือทางช่างไฟฟ้า


เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนืยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๖. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเครื่องมือกลและซ่อมบำรุง หรือสาขาวิชาโลหะการ
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิคเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล หรืออนปริญญาหลักสูตร ๖ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าในทางเครื่องกล
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาเทคนิคโลหะ หรือสาขาวิชาเขียนแบบเครื่องกล


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาฃีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชาก่อสร้าง
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิคเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา สาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมสำรวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชาเทคนิคเครื่องเย็นและปรับอากาศ หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนืยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในทางไฟฟ้า หรือ ทางอิเล็กทรอนิกส์
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เครื่องกล สาขาวิชาโยธา สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาสำรวจ สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาก่อสร้าง สาขาวิชาเทคนิคโลหะ หรือสาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า หรือสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปีต่อจาก ประกาศน็ยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ทางไฟฟ้า หรือทางอิเล็กทรอนิกส์
๓.ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาไฟฟ้า-กำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาก่อสร้าง
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมสำรวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา หรือสาขาวิชาเทคนิคการจัดการงานก่อสร้าง หรือ อนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาก่อสร้าง
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาชาวิชาการก่อสร้าง


นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งด้งต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ทางวิจิตรศิลปี ศิลปะประยุกต์ ทางศิลปกรรม หรือทางออกแบบผลิตภัณฑ์
๖. ได้รับประกาศนิยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ทางวิจิตรศิลป้ ศิลปะประยุกต์ ทางศิลปกรรม หรือทางออกแบบผลิตภัณฑ์ หรืออนปริญญาหลักสูตร ๖ ปี ต่อจาก ประกาศนึยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในทางศิลปะประยุกต์
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิขๅใดวิชาหนึ่ง ทางวิจิตรศิลป้ ศิลปะประยุกต์ ทางศิลปกรรม หรือทางออกแบบผลิตภัณฑ์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจาก ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในทางศิลปะประยุกต์


นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งด้งต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาจีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาก่อสร้าง สาขาวิชาสำรวจ หรือประกาศนียบัตรนักเรียนนายสิบแผนที่ ในสาขาวิชาสำรวจ ทางแผนที่ จากกรมแผนที่ทหารบก
๒. ได้รับประกาศน็ยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมสำรวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา หรือสาขาวิชาเทคนิคการจัดการงานก่อสร้าง หรือสาขาวิชา สำรวจ หรืออนปริญญาหลักสูตร ๖ ชิ ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาก่อสร้าง
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง


พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศบียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศน็ยบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้!นระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
๑    . ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๒    . ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
และได้รับใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์


โภชนากรปฏิบัติงาน

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งด้งต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอาหารและ โภชนาการ
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา อาหารและโภชนาการ หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาการอาหารและโภชนาการ
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา อาหารและโภชนาการ


เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชาบริหารรัฐกิจ หรือสาขาวิชานิติศาสตร์


นักพัฒนาการท่องเที่ยวปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้โนระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา


นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไนระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางโสตทัศนศึกษา ทางเทคโนโลยีการศึกษา ทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา ทางครุศาสตร์เทคโนโลยี หรือทางเวชนิทัศน์ หรือสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ทางนิเทศศาสตร์ ทางวารสารศาสตร์ ทางสื่อสารมวลชน หรือทางนิเทศศาสตร์การพัฒนา


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้[นระคับเดียวกันในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางคอมพิวเตอร์


นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา


นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา


นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดํในระดับเดียวกันในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางจิตวิทยา สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ หรือสาขาวิชารัฐศาสตร์ ทางสังคม-วิทยาและมานษยวิทยา และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาซีพสังคมสงเคราะห์รับอนุญาต


มัณฑนากรปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบใต้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิจิตรคิลป็และประยุกต์คิลป้ หรือสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน

ปฏินัติงานในฐานะผู้ปฏิน้ติงานระดับต้น ชึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏีบ้ติงาน ด้านการเกษตร ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่เด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏึน้ติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ช่วยทำการศึกษา ด้นคว้า วิจัย พัฒนา ทดลอง ทดสอบ วิเคราะห์ ตรวจสอบ รับรองทางด้าน วิชาการเกษตร เพื่อให้มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
(๒) ผลิต และให้บริการ ด้านการเกษตรและปัจจัยการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตตามเป้าหมายและ มีคุณภาพตามมาตรฐาน
(๓) ปฏิบัติการด้านวิชาการเกษตร เช่น การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย การพัฒนาที่ดิน การส่งเสริมการเกษตร การจัดการไร่นา การใช้นี้า เป็นต้น เพื่อสนับสบุนงานวิชาการและเผยแพร่ความรู้แก่เกษตรกร และบุคคลทั่วไป
(๔) ช่วยวางแผน ส่งเสริมการผลิต จัดทำโครงการสนับสนุนการผลิตชองเกษตรกร และล่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การอนุรักษ์พืนฟูการปลูกพืชประจำถิ่น การอนุรักษ์ธรรมชาติ โดยลดการใช้สารเคมีในการเกษตร การเพาะเลี้ยงแมลงเพื่อการศึกษาและนันทนาการ เป็นต้น เพื่อเป็นการเพิ่ม ผลผลิตของเกษตรกรและอนุรักษ์พันธ์พืชหายาก
(๕) สำรวจ ช่วยวางแผน ปรับปรุงที่ว่างในบริเวณต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร และการออกแบบตกแต่งปรับปรุงภูมิทัศน์ของพื้นที่สีเขียวและสวนสาธารณะ เพื่อใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์และร่มรื่น สวยงาม
(๖) จัดเตรียม ตรวจสอบ ดูแลรักษาเครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใซ้ในการปฏิบัติงานให้อยู่ในสภาพดี และเพืยงพอต่อการใช้งาน เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๗) ปฏิบัติงานด้านการเกษตร เช่น ผลิต ดูแลและบำรุงรักษาไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้ยีนต้น เป็นต้น เพื่อนำไปปลูกและตกแต่งในพื้นที่ หรือในพิธีสำคัญ หรือวันสำคัญต่าง ๆ
๒. ด้านการบริการ
(๑) สาธิต แนะนำ ส่งเสริม ขิกอบรม ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยจัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้ เพื่อนำความรู้โปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์
(๒) ประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ และแนะแนวทางการแก้ไชปัญหาการเกษตร เพื่อให้มีการแกัโขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใซ้ผู้สำเร็จการคึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านการเงินและบัญชี ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัตการ
(๑) จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไปตามเป้าหมาย ที่กำหนด
(๒) รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใชัประกอบในการทำงบประมาณประจำปี ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๓) ตรวจสอบและดูความถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้องในการปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอ ความช่วยเหลือและร่วมมือในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงาน หรือส่วนราชการ
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ขี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือ และความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ


เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

ปฏิบัดิงานในฐานะผู้ปฏิบัดิงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใซ้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านการจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียมและอื่น ๆ ที่เป็นรายได้ของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิ‘มติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานด้านการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย ค่าธรรมเนียม ค่าเช่า ค่าบริการ และรายได้อื่น ๆ ที่เกี่ยวซ้องตามกฎหมาย เพื่อให้การจัดเก็บรายได้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
(๒) เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบการจัดเก็บค่าธรรมเนียม จัดเก็บภาษีของฐานภาษีรายใหม่และที่ค้างชำระ เพื่อให้สามารถจัดเก็บได้อย่างครบถ้วน
(๓) ตรวจสอบการรับเงิน เก็บรักษา นำส่งเงิน และออกใบเสร็จในการจัดเก็บรายได้ เพื่อให้เป็นไป ตามกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ ข้อบังคับ คำสั่ง
(๔) รวบรวมข้อมูล เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บรายได้ และเก็บรักษาหลักฐานเพื่อเป็น ข้อมูล และรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามกำหนดระยะเวลา
(๕) จัดทำทะเบียนควบคุมการจัดเก็บรายได้ สถิติการจัดเก็บรายได้แต่ละประเภท รวมถึงจัดเก็บ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตามระบบงานของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องและ สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
(๖) ลูแล ตรวจสอบ ดำเนินการเบิกจ่ายการของบประมาณของหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อตรวจสอบ ให้วงเงินอยู่ในงบประมาณรายจ่ายที่กรุงเทพมหานครกำหนด
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาและแนะนำในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ตลอดจนเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ที่สนใจให้เกิด ความเข้าใจและปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
(๖) ประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่ออำนวยความสะดวกในการ ปฏิบัติงานและก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใซ้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิน้ตการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เข่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสบุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวกราบรื่นและมีหลักฐาน ตรวจสอบได้
(๒) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวก ต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้งานและอยู่ใน สภาพพร้อมใช้งาน
(๔) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังดับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะ และปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการเดียวกัน หรือหน่วยงาน หรือส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้[ด้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์[ด้ต่อไป
(๓) ผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสบุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน

ปฏิน้ติงานในฐานะผู้ปฏิบติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใซ้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา โดยปฏิบัติงาน ด้านประชาสัมพันธ์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏีบติในต้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมและช่วยจัดทำเอกสาร ภาพและข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ไนด้านต่าง ๆ เพื่อใช้จัดทำสื่อ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๒) สำรวจและรวบรวมความคิดเห็นของประชาชน เพื่อเป็นข้อมูลในการดำเนินงานภายในหน่วยงาน หรือส่วนราชการ
(๓) ปรับปรุงทะเบียนสื่อมวลชน เพื่อเก็บรวบรวมไว้เป็นข้อมูลของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔)ให้บริการด้านประชาสัมพันธ์ไนการติดต่อ ต้อนรับ ชี้แจงทั่ว ๆ ไป เพื่อไขข้อข้องใจและช่วยตอบ คำถามให้แก่ประชาชน
(๕) ดำเนินการประชาสัมพันธ์โดยวิธีการต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ ให้ความรู้ความเข้าใจอันดีเกี่ยวกับ การดำเนินงาน หรือผลงานของกรุงเทพมหานคร หรือนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
๒. ด้านการบริการ
(๑) เผยแพร่ แจกจ่ายข่าวสาร และเอกสารเกี่ยวกับความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อประชาสัมพันธ์งาน ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๒) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบแก่ผู้ร่วมงานหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดึไนการปฏิบัติงาน และให้การตำเนินงานสำเร็จลุล่วง
(๓) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน ต่างหน่วยงานหรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการ หรือขอความร่วมมือเกี่ยวกับข้อมูลเพื่อใช้ในงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ที่ตนรับผิดชอบ
(๔) อำนวยความสะดวกแก่ผู้มาติดต่อ ด้วยการให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ ตามที่ตนปฏิบัติหน้าที่อยู่ใน อำนาจหน้าที่ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านข้อมูลข่าวสารที่ดีจากรัฐ


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัดิงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใฃ้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบิติงานพัสดุ ตามแนวทาง แบบอย่าง ซ้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามทั่1ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
©. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานซ้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดชื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษา นำส่ง การซ่อมแซม และบำรุงรักษาพัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีพร้อมต่อการใช้งาน
(๒) ทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ    การเก็บรักษาใบสำคัญหลักฐานและเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ
เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
(๓) ร่างและตรวจสัญญาชื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่องเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อเป็น หลักฐานในการดำเนินงาน
(๔) รายงาน สรุปความเห็นเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผู้บังคับบัญชาในหน่วยงาน หรือส่วนราชการ
(๕) ศึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับระเบียบงานพัสดุ เพื่อร่วมพัฒนาให้ระเบียบการปฏิบัติงาน มีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งชื้น
(๖) ชี้แจงรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบแก่ผู้ร่วมงานหรือ หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการเดียวกัน ต่างหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการ หรือขอความช่วยเหลือในด้านที่ตนรับผิดชอบ


เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใชัผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านสถิติ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๏. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ จัดทำ รวบรวม ตรวจสอบข้อมูลสถิติที่มีความซับซ้อนไม่มากนัก เพื่อเป็นฐานข้อมูล หรือข้อมูลสนับสนุนในการจัดทำเอกสารทางวิชาการต่าง ๆ
(๒) สนับสนุนการปฏิบัติงานสำรวจสถิติ อาทิ ช่วยในการจัดร่างตารางรายงานสถิติ ช่วยร่างแบบสอบถาม เพื่อให้การปฏิบัติงานสำรวจสถิติดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
(๓) จัดหมวดหมู่ และจัดทำทะเบียนข้อมูลสถิติ เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการค้นหาข้อมูล
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการข้อมูลสถิติแก่บุคคลที่สนใจ เพื่อให้บุคคลเหล่านั้นได้รับข้อมูลทีถูกต้อง
(๒) ให้คำปรึกษา แนะนำแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานดำเนินไปอย่างราบรื่น


เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซี่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านการสาธารณสุข ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ให้บริการในงานด้านการสาธารณสุข เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีมาตรฐานและสุขภาวะที่ดี
(๒) ควบคุม ตรวจสอบ แนะนำการดำเนินกิจการที่มีผลกระทบด้านการสาธารณสุข เช่น ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร สถานบริการต่าง ๆ ฌาปนสถาน เป็นต้น รวมทั้งการส่งเสริม ควบคุม รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามมาตรฐานและกฎหมายที่กำหนด
(๓) เก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอเจ้าหน้าที่ระดับสูงขึ้นไป
(๔) ดูแล บำรุงรักษา เวชภัณฑ์เครื่องมืออุปกรณ์ เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและเป็นไปตามมาตรฐาน ๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ ในงานด้านการสาธารณสุขเบื้องต้น แก่ประชาชน เพื่อใช้ในการดูแล สุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการเดียวกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไป อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านสื่อสาร ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ต้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสื่อสาร รับ – ส่งข่าวสารด้วยระบบต่าง ๆ เข่น โทรศัพท์ วิทยุ โทรพิมพ์ เครื่องมือสื่อสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ระบบโครงข่าย โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม รวมทั้งระบบสื่อสารสารสนเทศอื่น ๆ เป็นต้น เพื่อให้การรับ – ส่งข่าวสารเป็นไปด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว และ ทันเหตุการณ์
(๒) รวบรวม คัดเลือก ตรวจสอบ และเรียบเรียงข่าว จัดแยกประเภทข้อมูล จัดเข้ารูปแบบ ฟอร์มสากล เพื่อให้ข่าวสารทั่ใด้รับมีความน่าเชื่อถือสูงและสามารถใช้อางอิงได้อย่างถูกต้อง
(๓) ให้บริการข้อมูลสื่อสารผ่านระบบสื่อสารและระบบสารสนเทศต่าง ๆ ให้กับบุคคลและหน่วยงาน หรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชนํในกิจการต่าง ๆ
(๔) จัดทำรายงานข่าวสาร หรือสถิติรับ – ล่งข้อมูลข่าวสารเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในงานสื่อสารและ นำไปปรับปรุงและพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานสื่อสารที่ตนรับผิดชอบแก่บุคคลในหน่วยงาน หรือส่วนราชการเดียวกัน หรือหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและการปฏิบ้ตงาน เป็นไปด้วยความมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการภายในและภายนอก รวมทั้งประชาชนทั่วไป เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็วมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใฃ้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน โสตทัศนศึกษา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ซัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำแผนภาพ แผนภูมิ กราฟ โปสเตอร์แผนที่และตารางแสดงสถิติข้อมูลต่าง ๆ เพื่อใช้เนการประชุม สัมมนา ฟิกอบรม และการแสดงนิทรรศการต่าง ๆ
(๒) ใช้และควบคุมการใช้เครื่องโสตทัศนูปกรณ์ ประเภทต่าง ๆ เข่น เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องฉายภาพนิ่ง เครื่องเสียงต่าง ๆ เป็นด้น เพื่อประกอบการประชุมสัมมนา หรือฟิกอบรมต่าง ๆ
(๓) เก็บรักษาฃ่อมบำรุงโสตทัศนูปกรณ์
(๔) ติดตาม รวบรวมและจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้การปฏิบัติงาน เป็นไปด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(๒) ให้คำแนะนำ ข้อมูล และให้บริการในเรื่องที่อยูในความรับผิดชอบในประเด็นที่ไม่มีความซับช้อน ภายใต้กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือวิธีปฏิบัติที่ชัดเจน หรือภายใต้การควบคุมดูแลของผู้บังคับบัญชา


เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน

ปฏึน้ตงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ห้องสมุด ตามแนวทางแบบอย่าง ซ้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ลงทะเบียนทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อเตรียมการจัดระบบหนังสือ
(๒) ช่วยบรรณารักษ์ในการจัดและจำแนกทรัพยากรสารสนเทศ เช่น จัดทำคำค้น ดัชนี กฤตภาค บรรณานุกรม เป็นต้น เพื่อการบริการและการสืบค้น
(๓) ดูแล เก็บรักษา ช่อมแชมหนังลือ เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้บริการ
(๔) ดูแล อาคาร สถานที่ วัสดุครุภัณฑ์ของห้องสมุด เพื่อให้ห้องสมุดมีบรรยากาศที่ดี
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการแนะนำแหล่งข้อมูลและวิธีการใช้ห้องสมุดแก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เช้าใช้บริการ เพื่ออำนวยความสะดวก
(๒) ร่วมจัดกิจกรรมและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เพื่อล่งเสริมให้ประชาชนเช้าใช้บริการห้องสมุด


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใฃ้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านช่างเครื่องกล ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ซัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏีบ้ติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
©. ด้านการปฏิบัติการ
(    ๑) ดำเนินการตรวจสอบ บำรุงรักษา ซ่อมแก้ไข ปรับปรุง เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้พร้อมใซ้อยู่เสมอ
(    ๒) ดำเนินการออกแบบ เขียนแบบเครื่องกล การผลิตชิ้นส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือ ประมาณราคา เครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับการใช้งาน
(    ๓) สำรวจ รวบรวมข้อมูล จัดทำสถิติ ประวัติการบำรุงรักษา การซ่อมเครื่องจักรกล เครื่องมือกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อเขีนข้อมูลหลักฐานสำหรับนำไปใชเนการพัฒนาปรับปรุงงาน
๒. ด้านการบริการ
(    ๑) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(    ๒) ให้คำแนะนำและบริการแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจในการทำงาน


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ชึ่งไม่จำเป็นต้องใข้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านช่างเทคนิค ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามท้1ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ดูแล ควบคุม ตรวจซ่อมและบำรุงรักษา ระบบสาธารณูปโภค เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ วัสดุและครุภัณฑ์อื่น ๆ ในความรับผิดชอบ เพื่อใท้เกิดความปลอดภัยและพร้อมในการใช้งาน
(๒) ซ่อม สร้าง ผลิต ประกอบ ดัดแปลง เขียนหรือออกแบบ ติดตั้ง เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งการทดลองใช้เครื่องจักร เครื่องกล และสิ่งก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชา และมาตรฐานงานช่าง และให้เกิดความปลอดภัย
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ จัดทำข้อมูล ถ่ายทอดความร้ทั้งในเซิงทักษะเซพาะด้านและทักษะทั่วไป ให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการที่รับผิดชอบ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชน เพื่อให้ มีความร้ ความสามารถและมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
(๒) ติดต่อประสานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุมการใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนม้ติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ตอบสนอง ความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการภายในและภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใชังานและผู้รับบริการ ทั้งภายในและภายนอก หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อประกอบการปฏิบ้ติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใฃ้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้ตรงตามหลัก วิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และงบประมาณที่ได้รับ
(๒) ตรวจสอบ แก้ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้ การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
(๔) ควบดุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และช่อมแชม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
(๔) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล งานด้านโยธาและด้านระบบระบายนํ้า จัดทำระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง
(๖) ดำเนินการป้องกัน แก้!ขปัญหานํ้าท่วมและระบบการระบายนํ้า เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชน
(๗) ปฏิบัติงานด้านบำรุงรักษาแหล่งรับนํ้าให้มีที่ว่างเพียงพอ เพื่อสำหรับรองรับนํ้า
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและฟิกอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่รับผิดชอบ แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ และมีทักษะเหมาะสม แก่การปฏิบัติงาน
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือ และร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงานหรือ ส่วนราชการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามทั่!ด้รับมอบหมาย


นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใซ้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาปฏิบัติงาน ด้านช่างศิลป็ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ออกแบบงานศึลป้ บอร์ด ป้ายประกาศ ป้ายโฆษณา ฉาก เวทีของหน่วยงานหรือส่วนรา6อการ ผังสถานที่ สื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพ สวยงาม และสื่อความได้เป็นอย่างดี
(๒) ดูแล จัดเก็บ บำรุงรักษา ซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์การทำงานให้เป็นระบบเพื่อให้อุปกรณ์อยู่ใน สภาพพร้อมใซ้งานอยู่เสมอ
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ การออกแบบ เทคนิค การจัดงานศิลป็ การจัดนิทรรศการแก่บุคลากรทั้งภายในและ ภายนอก เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในงานศึลป้
(๒) ช่วยจัดทำลื่อสิ่งพิมพ์ คู่มือ หนังสือ แผ่นพับและนิทรรศการ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เสริมสร้างภาพพจน์ และส่งเสริมการออกแบบงานศึลป็


นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใฃ้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านช่างสำรวจ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ รังวัด คำนวณ ตรวจสอบ จำแนกรายละเอียดของภาพถ่ายทางอากาศ จัดทำแผนที่ แผนผัง เช่น การสำรวจและลัดลอกระวางโฉนดที่ดิน การจัดทำแผนที่การบริการด้านสาธารณสุข เป็นต้น เพื่อให้ ทราบรายละเอียด และเป็นไปตามแบบที่กำหนด สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) แก้ไขปัญหาเบื้องต้นจากการปฏิบัติงาน เพื่อให้บรรลุตามวัตถประสงค์ และเป้าหมายของงาน ที่กำหนดไว้
(๓) วัดระดับของภูมิประเทศ วางโครงข่ายหมุดหลักฐาน จัดทำระบบการจัดการและปรับปรุงชุดข้อมูล ภูมิศาสตร์พื้นฐาน แผนที่ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) บันทึก ตรวจสอบ จัดเก็บ รายละเอียดต่าง ๆ ที่ได้จากการสำรวจและรายงานผล เพื่อติดตาม ความก้าวหน้าของงาน
(๕) กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และตรวจสอบความลูกต้องของข้อมูล และรายละเอียดต่าง ๆ ที่ได้ จากการสำรวจ เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มีความถูกต้อง
(๖) จัดเก็บ บำรุงรักษา เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงาน ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำทั้งในเขิงทักษะเฉพาะด้านและทักษะทั่วไปแก่บุคลากรทุกสายงาน เพื่อให้ บุคลากรมีความร้ ความสามารถและมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏินัติงานในหน้าที่
(๒) ติดต่อประสานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ


พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัดิงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน เกี่ยวกับงานด้านเทศกิจ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สืบสวน สอบสวนกรณีที่ผู้ต้องหาไม่ยอมตามที่ปรับหรือเมื่อยอมแล้วไม่ชำระค่าปรับภายใน กำหนดเวลา สอบถามข้อเท็จจริงหรือสั่งให้แสดงเอกสารหรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวช้องจากบุคคลที่อย่หรือทำงาน ในสถานที่นั้น และให้มีอำนาจยึดหรืออายัดเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะหรือสิ่งใด ๆ ที่เกี่ยวกับการกระทำผิด รวมทั้งมีอำนาจจับกุมผู้กระทำผิด ดำเนินการให้มีการเปรียบเทียบปรับ ดำเนินคดี และบังคับการให้เป็นไปตาม ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร และกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดการ ปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งด้านคดีอาญา การบังคับการทางแพ่งและการบังคับทางปกครองที่อยูในอำนาจหน้าที่ของ กรุงเทพมหานคร เช่น การบังคับรื้อถอนอาคาร การห้ามเข้าห้ามใช้อาคารผิดกฎหมาย เป็นต้น
(๒) เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ช่วยหรือดำเนินการเกี่ยวกับการยึดอายัดทรัพย์สิน เพื่อดำเนินการ ให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร หรือ กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเพื่อดำเนินคดีหรือขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี
(๓) ตรวจสอบและจัดระเบียบ หาบเร่ แผงลอย จุดผ่อนผัน จุดทบทวน จุดกวดชันพิเศษ จุดห้ามขาย เด็ดขาด นอกจุดผ่อนผันและทบทวน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบรัอยของ บ้านเมือง
(๔) ตรวจตรา เฝ็าระวังการดำเนินงานต่าง ๆ ของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้เป็นไปตาม ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
(๕) ปฏิบัติงานมวลชนสัมพันธ์ งานกิจการพิเศษ งานให้บริการ เช่น งานช่วยอำนวยการจราจร งานสายตรวจจักรยาน งานสายตรวจชุมชน งานสายตรวจเดินเท้า งานช่วยอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
(๖) ตรวจตราพื้นที่ รวมถึงสนับสนุน ช่วยเหลืออำนวยความสะดวกในงานบรรเทาสาธารณภัย ดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองตามสิทธิและข้อบังคับ ของกฎหมาย
(๗) ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือองค์กรอื่นที่เกี่ยวซ้อง เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(๘) ช่วยงานด้านธุรการ และคดี เช่น งานเสมียนคดี ลงบันทึกการจับกุม บันทึกเปรียบเทียบปรับ บันทึกรายงานประจำวัน เป็นต้น
๒. ด้านการบริการ
(๑) การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ให้คำปรึกษาแนะนำงานบริการต่าง ๆ ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการดำเนินงาน ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(๒) รับเรื่องร้องทุกข์ หรือเรื่องราวความเดือดร้อนของประชาชน เพื่อเสนอผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงาน หรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องให้ตำเนินการแกัเ,ข


พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ช่วยงานปกครอง ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานในฐานะผู้สนับสนุนให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติงานหลักชองหน่วยงาน หรือส่วนราชการที่ดำเนินการทางปกครอง เช่น การทะเบียนปกครอง การทะเบียนราษฎร การทะเบียนทั่วไป การปกครองท้องที่ การช่วยปฏิบัติงานการเลือกตั้งทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น การทำประชามติ การป้องกันและรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นต้น เพื่อให้การ ดำเนินการตามภารกิจชองหน่วยงานหรือส่วนราชการบรรลุผลสัมฤทธิ้
(๒) รับเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับการบังคบการทางปกครองหรือการให้บริการทางปกครองที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เช่น การเพิกถอนทะเบียนสมาคม การจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน การจัดทำทะเบียนพาณิชย์ การจัดทำทะเบียนต่างด้าว การจัดทำทะเบียนมูลนิธิ เป็นด้น
(๓) อำนวยความสะดวกในการจัดัผืกอบรมเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และสร้างความรู้ความเข้าใจ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น บทบัญญ้ติกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศที่ใชัใน การปฏิบัติงาน การอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน การอบรมลูกเสือชาวบ้าน การจัดทำคู่มือสำหรับ การปฏิบัติงานที่ลูกด้อง เป็นต้น
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ ชี้แจง และประชาสัมพันธ์ขั้นตอนงานบริการต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ให้แก่ประชาชน หน่วยงานหรือส่วนราชการอื่น ๆ ที่เกี่ยวซ้อง เพื่ออำนวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้แก่ ประชาชน หน่วยงานหรือส่วนราชการนั้น
(๒) ประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาในการ ให้บริการสาธารณะ


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งโม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
©. ด้านการปฏิบัติการ
(    ๑) ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตรวจตรา รับแจ้งเหตุ เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
(    ๒) ดำเนินการระงับอัคคีภัย และภัยพิบัติอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่รับผิดชอบ การกัภัย การช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย การรับมือกับเหตุร้ายในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อความปลอดภัยและบรรเทาความเสียหาย ที่เกิดขึ้น
(    ๓) จัดเตรียม ดูแล รักษาเครื่องมืออุปกรณ์ ตลอดจนยานพาหนะต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ ในการปฏิบัติงานอยู่เสมอ เพื่อให้การตำเนินการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(    ๔) รวบรวม จัดทำข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน เช่น สำรวจแหล่งนี้า เส้นทางจราจร แหล่งชุมชนต่าง ๆ บริเวณหรือพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดภัย เป็นต้น เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างสะดวกและ ทันต่อเหตุการณ์
(    ๕) จัดทำรายงาน บันทึก และสถิติข้อมูลต่าง ๆ ในงานป้องกันบรรเทาสาธารณภัย เพื่อรายงาน ผู้บังคับบัญชา
๒. ด้านการบริการ
(    ๑) ให้คำปรึกษาแนะนำในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
(    ๒) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้แก่หน่วยงานราชการ หรือเอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสามารถแกัใชสถานการณ์ในเบื้องต้นได้ด้วยตนเอง
(    ๓) ประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่ออำนวยความสะดวกในการ ปฏิบัติงานและก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน


โภชนากรปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้าน โภชนาการ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
©. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ให้บริการอาหารตามหลักโภชนาการ โภชนาบำบัด เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับพลังงาน สารอาหาร ครบถ้วนและปลอดภัย
(๒) จัดเตรียม ดูแล บำรุงรักษา เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อให้อผู้ในสภาพพร้อมใช้งานและเป็นไป ตามมาตรฐาน
(๓) เก็บรวบรวมช้อมูล เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอเจ้าหน้าที่ระดับสูงขึ้นไป
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำด้านอาหารตามหลักโภชนาการ โภชนาบำบัด แก่ผู้ใซ้บริการ เพื่อให้มีความรู้ สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
(๒) ประสานงานการทำงานร่วมกับผู้เกี่ยวช้อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านเทศกิจ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สืบสวน สอบสวนกรณีที่ผู้ด้องหาไม่ยอมตามที่ปรับหรือเมื่อยอมแล้วไม่ชำระค่าปรับภายใน กำหนดเวลา สอบถามข้อเท็จจริงหรือสั่งให้แสดงเอกสารหรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องจากบุคคลที่อยู่หรือทำงาน ในสถานที่นั้น และให้มีอำนาจอึดหรืออายัดเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะหรือสิ่งใด ๆ ที่เกี่ยวกับการกระทำผิด รวมทั้งมีอำนาจจับกมผู้กระทำผิด ดำเนินการให้มีการเปรียบเทียบปรับ ดำเนินคดี และบังคับการให้เป็นตาม ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร และกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ชองกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิด การปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งด้านคดีอาญา การบังคับการทางแพ่ง และการบังคับทางปกครองที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ ชองกรุงเทพมหานคร เช่น การบังคับรื้อถอนอาคาร การห้ามเข้าห้ามใช้อาคารผิดกฎหมาย เป็นต้น
(๖) เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ช่วยหรือดำเนินการเกี่ยวกับการอึดอายัดทรัพย์สิน เพื่อดำเนินการให้เป็นไป ตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร หรือกฎหมาย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเพื่อดำเนินคดีหรือขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี
(๓) ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ การจัดระเบียบ หาบเร่ แผงลอย จุดผ่อนผัน จุดทบทวน จุดกวดขันพิเศษ จุดห้ามขายเด็ดขาด นอกจุดผ่อนผันและทบทวน และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง
(๔) ควบคุม ดูแล การตรวจตรา เฝัาระวังการดำเนินงานต่าง ๆ ของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
(๕) ควบคุม ดูแล การปฏิบัติงานมวลชนสัมพันธ์ งานกิจการพิเศษ งานให้บริการ เช่น งานช่วย อำนวยการจราจร งานสายตรวจจักรยาน งานสายตรวจชุมชน งานสายตรวจเดินเท้า งานช่วยอำนวยความสะดวก ด้านการท่องเที่ยว เป็นด้น เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
(๖) ควบคุม ดูแล การตรวจตราพื้นที่ รวมถึงสนับสบุน ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกในงานบรรเทา-สาธารณภัย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองตามสิทธิและ ข้อบังคับของกฎหมาย
(๗) ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(๘) การดำเนินการด้านข้อมูลทะเบียน และการออกใบรับรองรถจักรยานยนต์รับจ้างสาธารณะ
(๙) วางแผนการใช้กำลังคนด้านเทศกิจ จัดทำแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อดูแลความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง และความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ของบ้านเมือง
(๑๐) ศึกษา วิเคราะห์ การกำหนดมาตรการ แนวทางปฏีบ้ตงาน การปรับปรุงกฎหมาย รวมทั้งการ ติดตามประเมินผลเกี่ยวกับงานด้านเทศกิจ เพื่อพัฒนาระบบงานให้มีคุณภาพ สามารถปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน หรือส่วนราชการให้บรรลุวัตถุประสงค์และผลสัมฤทธที่กำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือ โครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลส้มฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวช้อง เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการตำเนินงานดามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ให้คำปรึกษาแนะนำงานบริการต่าง ๆ ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการดำเนินงาน ล่งเสริมให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(๒) ดูแลเรื่องร้องเรียน ให้คำปรึกษา แนะนำ ด้านกฎหมาย อำนวยความเป็นธรรมให้แก่ประชาชน ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนขอความเป็นธรรม เพื่อนำเสนอผู้บังคับบัญชาประกอบการตัดสินใจเพื่ออำนวยความ เป็นธรรมให้แก่ประชาชน


นักพัฒนาการท่องเที่ยวปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านพัฒนาการท่องเที่ยว ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวม ประมวล จัดทำข้อมูลสถิติทางวิชาการเบื้องต้น วิเคราะห์เพื่อประกอบการวางแผนงาน โครงการ หรือแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว การกำหนดมาตรฐานการท่องเที่ยว การพัฒนาบริการท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนางานทะเบียนธุรกิจนำเที่ยว และมัคคุเทศก์ และการส่งเสริมสนับสนุนธุรกิจ การถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในกรุงเทพมหานคร รวมถึงการส่งเสริมสนับสนุนธุรกิจต่อเนื่องกับอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว
(๒) สำรวจ รวบรวม ศึกษา สรุปจัดทำรายงาน รวมทั้งประมวล และวิเคราะห์ข้อมูลทางวิชาการ วิจัย จัดทำฐานข้อมูล เพื่อวางแผน จัดทำหลักเกณฑ์มาตรฐานการท่องเที่ยว การพัฒนาบริการท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนางานทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ และการส่งเสริมสนับสนุนธุรกิจ การถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในกรุงเทพมหานคร รวมถึงการส่งเสริมสนับสนุนธุรกิจต่อเนื่องกับอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว
(๓) รวบรวม จัดเก็บข้อมูล สถิติเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว การสร้างและ พัฒนาเครื่องมือ จัดทำคู่มือ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการและสื่อ เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานพัฒนาการ ท่องเที่ยว ด้านการพัฒนาบริการท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนางานทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและ มัคคุเทศก์ และการส่งเสริมสนับสนุนธุรกิจการถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในกรุงเทพมหานคร รวมถึงการส่งเสริม สนับสนุนธุรกิจต่อเนื่องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
(๔) จัดทำข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์และปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินการด้านการท่องเที่ยว เพื่อประกอบ การวางแผนด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว การพัฒนาบริการท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนางาน ทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ และการล่งเสริมสนับสนุนธุรกิจการถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในกรุงเทพมหานคร รวมถึงการส่งเสริมสนับสนนธุรกิจต่อเนื่องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
(๕) ร่วมตำเนินการเกี่ยวกับการกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ แนวทาง วิธีการ ในการอนุมัติ อนุญาตด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว ร่วมติดตามประเมินผลการดำเนินงาน กิจกรรม และสรุปการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย รวมทั้งร่วมส่งเสริม สนับสนุน เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยว การพัฒนาบริการท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนางานทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ และธุรกิจการถ่ายทำภาพยนตร์ ต่างประเทศในกรุงเทพมหานคร รวมถึงการส่งเสริมสนับสบุนธุรกิจต่อเนื่องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมตำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเบีาหมายและผลส้มฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานงานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลส้มฤทธื้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการตำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำและให้บริการทางวิชาการเบื้องต้นแก่หน่วยงานที่เกี่ยวซ้องทั้งภายในและภายนอก และประชาชน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยว การพัฒนาบริการท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนางานทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ และการขออนุญาตถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในกรุงเทพมหานคร รวมถึงธุรกิจต่อเนื่องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
(๒) ให้บริการข้อมูล เอกสาร สื่อ ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ตอบข้อซักถาม เกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยว การพัฒนาบริการท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนางานทะเบียน ธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ และการล่งเสริมสนับสนุนธุรกิจการถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในกรุงเทพมหานคร รวมถึงธุรกิจต่อเนื่องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
(๓) อำนวยความสะดวกด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว การพัฒนาบริการท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยว การพัฒนางานทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ และการส่งเสริมสนับสนุนธุรกิจการถ่ายทำภาพยนตร์ ต่างประเทศในกรุงเทพมหานคร รวมถึงธุรกิจต่อเนื่องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว


นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏีบ้ติงานเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและสถานการณ์ทางสังคมเบื้องด้น รวมทั้งติดตาม สถานการณ์และเฝัาระวังทางสังคม เพื่อประโยชน์ในการจัดทำแผนงาน กำหนดมาตรการ การจัดทำรายงาน และ การวางแผนการป้องกัน แก้ไขปัญหา และพัฒนางานด้านการพัฒนาสังคมให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น สถานการณ์เกี่ยวกับยาเสพติด ชุมชนแออัด การค้าหญิงและเด็ก การใช้ความ รุนแรงในครอบครัว เป็นต้น
(๒) ส่งเสริม สนับสนุนและให้บริการเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพและการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ เบื้องต้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงสิทธิและบริการขั้นพื้นฐานตามที่กฎหมายกำหนดและเป็นไปตามมาตรฐาน รวมทั้งดำเนินการให้มีการพัฒนามาตรฐานให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น การให้ความช่วยเหลือ แก่บุคคลและครอบครัวที่ประสบความเดือดร้อนหรือไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในรูปของเงินหรือสิ่งของ การให้ การสงเคราะห์แก่ผู้รับบริการสวัสดิการและการสงเคราะห์ในสถานสงเคราะห์ หรือบ้านพักลุกเฉินในกรุงเทพมหานคร เป็นต้น
(๓) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงานที่กำหนด เพื่อปรับปรุงหรือจัดทำแผนงาน กำหนดมาตรการ จัดทำรายงาน และวางแผนการป้องกัน แก้ไขปัญหา และพัฒนางานด้านการพัฒนาสังคมให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์
(๔) รวบรวม ศึกษา และพัฒนาการจัดทำฐานข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ไนการติดตาม ประเมินผลการดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมให้เป็นไปตามเป้าหมาย ตลอดจนบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
(๕) ให้คำปรึกษา เสนอแนะแนวทางและฟิกอบรม เพื่อพัฒนาประชาชนในชุมชนตามวิธีการและ หลักการพัฒนาชุมชน พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจชุมชน สร้างความสมดุลในการพัฒนาชุมชน และความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชนระดับฐานรากอันนำไปสูความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน เช่น การสนับสนุน การรวมกลุ่มและการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน การสร้างเครือข่ายชุมชน การอนุรักษ์ พื่นฟู และพัฒนา สภาพแวดล้อมในชุมชน การส่งเสริมและสนับสบุนวิสาหกิจชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพอย่างครบวงจร การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น การจ้ดตั้งกองทุนพัฒนาชุมชน กองทุนหมู่บ้านและชุมชน การส่งเสริมการบริหารเงินออมครอบครัว เป็นต้น
(๖) ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาศักยภาพชุมชน กรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน องค์กรชุมชน และการพัฒนา กลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน เพื่อเป็นแกนนำในการพัฒนาชุมชน
(๗) ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนางานด้านการจัดการความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน เพื่อสร้างและ พัฒนาระบบการจัดการความรู้ของชุมชน เช่น การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ฟิกอาชีพ การจัดทำ และพัฒนาหลักสูตรให้เป็นมาตรฐานและสอดคล้องกับตลาดแรงงาน จัดทำคู่มือการสอน ข้อสอบมาตรฐานกลาง การให้คำปรึกษา แนะนำ และสนับสนุนด้านวิชาการและเทคโนโลยีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การกำหนดมาตรฐาน ฟิมือแรงงาน การอนุรักษ์ล่งเสริม เผยแพร่ พินฟู บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม อันดีงามของท้องถิ่น งานพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น การส่งเสริมการท่องเที่ยวและพัฒนาการท่องเที่ยว เป็นต้น
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ องค์กร เอกชน หรือหน่วยงานภาครัฐ ตลอดจนองค์กรอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริงแก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กรเอกชน หรือหน่วยงานภาครัฐ ตลอดจนองค์กรอื่นเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือ ในการดำเนินงาน ตามที่ใต้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ตำรา สื่อ และคู่มือในรูปแบบต่าง ๆ เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม แก่หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคีเครือข่ายสังคม หรือประชาชนทั่วไป เพื่อสนับสนน ให้เกิดการเรียนรู้และการประยุกต์ใช้ความรู้ และเพื่อประโยชนํในการจัดบริการทางสังคม และให้การช่วยเหลือ แก่กลุ่มเป้าหมายอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
(๒) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านการพัฒนาสังคมในด้านต่าง ๆ เพื่อให้บริการแก่หน่วยงานภาคีการพัฒนา ประชาชน ผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่มหรือองค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชน ชุมชน หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับการฟิกอบรม และถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการ ครอบครัว กลุ่มชุมชน หน่วยงานภาครัฐ เอกชน เครือข่าย หรือประชาชนทั่วไป เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ งานด้านการพัฒนาสังคมตามหลักการพัฒนาชุมชน หลักมบุษยสัมพันธ์ หลักจิตวิทยาและหลักการสังคมสงเคราะห์


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัตการ
(๑) ร่าง โต้ตอบหนังสือเข้นภาษาต่างประเทศ งานแปลเอกสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อใช้ในการติดต่อประสานงานกับองค์การระหว่างประเทศ
(๒) รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และติดตามประเมินผล จัดทำบันทึก สรุปรายงานการประชุมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพื่อนำเสนอผู้บังคับบัญชา
(๓) จัดเตรียมข้อมูลสำหรับการเจรจาความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ เพื่อให้การประชุม เจรจาบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด
(๔) ส่งเสริม สนับสบุน ดำเนินการเกี่ยวกับทุนการศึกษา ฟิกอบรม คูงาน ผู้เชี่ยวชาญ วัสดุอุปกรณ์ อาสาสมัคร องค์การพัฒนาเอกชนและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานความร่วมมือ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไป ด้วยความราบรื่น
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานชองหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) เผยแพร่ความรู้ทั่วไปด้านการต่างประเทศแก่ผู้มาติดต่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและลูกต้อง เผยแพร่ความรู้ให้คำปรึกษาและชี้แจงตอบปัญหาด้านการต่างประเทศแก่ผู้ที่มาติดต่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดี และลูกต้องตามระเบียบกฎหมาย
(๒) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงานด้านต่างประเทศ เพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูล


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเงินและบัญชี ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินในและเงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อแสดงสถานะทางการเงินและใช้เป็นฐานข้อมูลที่ถูกต้องตามระเบียบวิธีการบัญชีชองหน่วยงาน หรือส่วนราชการ
(๒) รวบรวมข้อมูล และรายงานการเงินของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อพร้อมที่จะปรับปรุงข้อมูล ให้ถูกต้องและทันสมัย
(๓) จัดทำและจัดสรรงบประมาณแก่กรุงเทพมหานคร เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณตรงกับความ จำเป็นและวัตถุประสงค์ของแต่ละหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) ศึกษาวิเคราะห์ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้การใช้จ่ายเงินเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ
(๕) ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงิน ตรวจสอบเอกสารสำคัญ การรับ – จ่ายเงิน เพื่อให้ การรับ – จ่ายเงินขององค์กรมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติของราชการ
(๖) ถ่ายทอดความรู้ด้านการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เช่น ให้คำแนะนำในการ ปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและฟิกอบรม จัดทำคู่มือประจำสำหรับการฟิกอบรมและวิธีใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย และผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๖) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ไต้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีที่ตนมืความรับผดชอบ ในระดับ เบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วใป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็น ประโยชน์
(๖) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับงาน การเงินและบัญชี เพื่อให้สอดคล้องและสนับสบุนภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และใซัประกอบการ พิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการโสตทัศนศึกษา ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดเตรียมและควบคุมการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง เครื่องฉาย การผลิตวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ ในการจัดแสดงหรือบรรยาย เพื่อให้การแสดงหรือบรรยายที่ต้องอาศัยเครื่องเสียงหรือเครื่องฉายดำเนินไปโดย ความเรียบร้อย และเกิดความเหมาะสม
(๒) ช่วยเขียน เรียบเรียง คำบรรยายภาพ คำบรรยายแผนภูมิ บทรายการวิทยุ ภาพยนตร์ หรือ โทรทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้ หรือข้อมูลอันเป็นประโยชน์ในด้านต่างๆ
(๓) จัดหา ดูแล รักษา ซ่อมแชม เครื่องเสียง เครื่องฉาย ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ใน การปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้ดี ประหยัดงบประมาณของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และดำเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลส้มฤทธิ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวช้อง เพื่อสร้างความเช้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษา แนะนำในด้านการใช้ บำรุงรักษาเครื่องเสียง เครื่องฉาย ตลอดจนโสตทัศนูปกรณ์ แก่หน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ เพื่อให้สามารถดำเนินการด้านโสตทัศนศึกษาได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวช้อง เพื่อสนับสบุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้อย่างราบรื่นและ สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๒) ประมวลผลและปรับปรุงแก้!ขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ลูกต้องแม่นยำและทันสมัย
(๓) ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ลูกต้อง ตรงตามความต้องการ และสภาพการใช้งานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) เขียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ไต้วางแผนไว้ เพื่อสนับสบุน การปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แก้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่งเพื่อให้ระบบ ปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
(๖) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูล ของหน่วยงานหรือส่วนราชการที่ไม่ซับซ้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานหรือส่วนราชการ ให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๗) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ระบบงาน ประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๘) รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่อง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อให้!ด้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๙) ตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ซ่อมแชม เครื่องคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายให้สามารถทำงาน ได้ปกติ เพื่อให้การดำเนินงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ เป็นไปอย่างสะดวก ราบรื่น
(๑๐) ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสมขัดต่อ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นโปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลและระบบ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริงแก,บุคคลหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวช้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเอง อย่างมีประสิทธิภาพ
(๖) ดำเนินการฟิกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสบุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
(๓) ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ ผู้ใช้สามารถแกIขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านวิชาการศึกษา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบ้ตการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษา เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนางานด้านวิชา การศึกษาและที่เกี่ยวข้อง
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเบื้องต้น เพื่อประกอบการจัดทำข้อเสนอนโยบาย แผน มาตรฐานการศึกษา หลักสูตร แบบเรียน ตำรา สื่อการเรียนการสอน สื่อการศึกษา การผลิตและพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา
(๓) จัดทำแผนงาน/โครงการต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมสนับสบุนการจัดการศึกษา
(๔) ดำเนินการเกี่ยวกับงานทะเบียนและเอกสารด้านการศึกษา รวมทั้งปรับปรุงให้ทันสมัย เพื่อเป็น หลักฐานอางอิง และให้การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา
(๕) ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและมาตรฐาน
(๖) ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน กิจกรรมและสรุปผลด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนางานด้านการศึกษา
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลส้มฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวช้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(    ๑) จัดบริการส่งเสริมการศึกษา เช่น จัดนิทรรศการ กิจกรรม พิพิธภัณฑ์ทางการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้การบริการความรู้และบริการทางด้านการศึกษาและวิชาชีพแก่ประชา,ชนอย่างทั่วถึง เป็นต้น
(    ๒) ผลิตคู่มือ แนวทางการอบรม เอกสารทางวิชาการ รวมทั้งให้คำแนะนำปรึกษาเบื้องด้นแก่นักเรียน นิสิต นักศึกษาและชุมชน ประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการความรู้แก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึงและสะดวก
(    ๓) ดำเนินการจัดการประชุมสัมมนาวิชาการ จัดประชุมอบรมและสัมมนาเกี่ยวกับการแนะแนว การศึกษาและวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและให้แนวทางการศึกษาและแนวทางการเลือกอาชีพ ที่เหมาะสมกับบุคคลทั่วไป
(    ๔) เผยแพร่การศึกษา เช่น จัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ เขียนบทความ จัดทำวารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เอกสารต่าง ๆ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาอื่นๆ เพื่อให้ความรู้ด้านการศึกษา การแนะแนวการศึกษา และวิชาชีพ อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ


นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการสิ่งแวดล้อม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบ้ตการ
(๑) ปฏิบัติการเกี่ยวกับการสำรวจ รวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เก็บตัวอย่าง ประเมินผล ข้อมูลและการดำเนินงานติดตาม ตรวจสอบสภาวะแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดและปรับปรุงนโยบาย แผน มาตรฐาน มาตรการ แนวทาง หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบเงื่อนไข กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลข่าวสาร ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมจากสื่อต่าง ๆ และความร่วมมือด้านการจัดการมลพิษภายใต้ข้อตกลงระหว่างประเทศ พร้อมจัดเตรียมจัดหาแผนที่ ในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ เพื่อประเมินสถานการณ์มลพิษสำหรับจัดทำรายงาน สถานการณ์ความเคลื่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมและเพื่อใช้ในการวางแผนจัดการด้านมลพิษ รวมทั้งการสื่อสารและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมและเพื่อใช้ในการวางแผนจัดการด้านมลพิษ รวมทั้งการลื่อสารและถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสำนึกและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อม
(๒) ติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประมวลผลกรณี เรื่องราวร้องทุกข์ด้านมลพิษจากแหล่งกำเนิดต่าง ๆ เพื่อสืบหาที่มาของมลพิษ และเสนอความเห็นเพื่อให้เป็นไป ตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น การระบายมลพิษจากอาคารบ้านเรือน ร้านคา โรงแรม โรงงาน อุตสาหกรรม และสถานประกอบการต่าง ๆ มลภาวะด้านคุณภาพ อากาศ และเสียง และมลพิษจากยานพาหนะ และวินิจฉัยข้อเท็จจริงเบื้องต้นเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม และหาทางดำเนินการแกไขต่อไป
(๓) พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม ค้นคว้า ศึกษา เทคโนโลยี เทคนิคและวิธีการใหม่ ๆ ในการควบคุม บีองกันและแกัใขปัญหามลพิษจากแหล่งกำเนิด เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงาน ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(๔) ร่วมจัดทำนโยบายและแผนงานด้านการจัดการควบคุมมลพิษและเสนอแนะกลไก มาตรการทาง เศรษฐศาสตร์เพื่อควบคุมและลดปริมาณมลพิษในสิ่งแวดล้อม และร่วมวางแผนโครงการศึกษา วิจัย พัฒนา เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ใช้งบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม เช่น การจัดทำแผนการปลูกต้นไม้ และ พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร ปลูก ดูแลบำรุงรักษาต้นไม้ ดูแลรักษาความสะอาด รวมทั้งโบราณสถาน สถานที่ ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม เป็นต้น
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบและร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมคันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้ เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม แก้ไข พื่นฟูและใช้มาตรการในการ แก้ไขปัญหามลพิษในการส่งเสริมรักษาสิ่งแวดล้อมในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
(๓) จัดทำคู่มือเกี่ยวกับการแกั[ขปัญหามลพิษ การระบายมลพิษ แหล่งกำเนิดมลพิษ เพื่อให้หน่วยงาน หรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องมีความรู้!นการควบคุมการระบายมลพิษให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ชี้แจงและตอบปัญหาเกี่ยวกับงานวิชาการสิ่งแวดล้อม จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้ ทางวิชาการ แก่หน่วยงานหรือส่วนราชการ หน่วยงานเอกชน ประชาชนทั่วไป เพื่อให้ได้ความรู้และเกิดความเข้าใจ ในการดูแลสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องด้น จัดทำสถิติ รายงาน หรือฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเกี่ยวกับงานวิชาการ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้การสนับสนนภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และประโยชน์ไนการพิจารณากำหนดและ ปรับปรุงนโยบาย แผน มาตรฐาน มาตรการ หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบ เงื่อนไข และกฎหมายที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สิ่งแวดล้อม


นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ด้นหาข้อเท็จจริง สัมภาษณ์ สอบประวัติ เยี่ยมบ้าน ติดตาม สืบเสาะหาข้อเท็จจริง รวมทั้ง ศึกษาชุมชน และประเมินสภาวะทางสังคมเบื้องต้น เพื่อวินิจฉัย และให้บริการทางสังคมแก่กลุ่มเป้าหมาย ในระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่ม และชุมชน
(๒) ให้บริการการปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือ บำบัด พื่นฟู ป้องกัน ปกป้อง คุ้มครอง และพัฒนา กลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้
(๓) รวบรวม ประมวล สรุป จัดลำดับความสำคัญและความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งวิเคราะห์ สาเหตุและผลกระทบของปัญหา เพื่อประกอบการวางแผนให้ความช่วยเหลือ พิทักษ์สิทธิ และพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเป้าหมาย
(๔) สำรวจ รวบรวม ศึกษา สรุปจัดทำรายงาน รวมทั้งประมวล และวิเคราะห์ข้อมูลทางวิชาการ สถานการณ์และปัญหาด้านสังคม เพื่อประกอบการวิจัย การจัดทำฐานข้อมูล การวางแผน การจัดทำหลักเกณฑ์ มาตรฐานและการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมและสงเคราะห์
(๕) รวบรวม จัดเก็บข้อมูล สถิติเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์ เพื่อประกอบการจัดทำ เครื่องมือทางสังคมสงเคราะห์ คู่มือ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการ สื่อ เพื่อนำไปใช1นการดำเนินงานด้านสังคม สงเคราะห์
(๖) จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์และปัญหาของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประกอบการพัฒนาและ วางแผนด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้ เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำและให้บริการทางวิชาการแก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ และองค์กรต่าง ๆ เกี่ยวกับแนวทางในการดำเนินงานด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ เพื่อพัฒนาความรู้ เทคนิค ทักษะ ในการดำเนินงานและพัฒนาบริการด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์
(๒) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ตำรา สื่อ และคู่มือในรูปแบบต่าง ๆ เกี่ยวกับการสวัสดิการสังคมและ สังคมสงเคราะห์แก่ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน องค์กร หน่วยงานภาครัฐ เอกชน เครือข่าย ประชาชนทั่วไปและผู้ที่สนใจ เพื่อสนับสบุนการเรียนรู้และเพื่อประโยชน้ในการจัดบริการทางสังคมและการให้ความช่วยเหลือแก่กลุ่มเป้าหมาย อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
(๓) ร่วมจัดการฟิกอบรมและถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการ ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ เอกชน เครือข่ายและประชาชนทั่วไป เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับงานด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการของ กลุ่มเปาหมาย


มัณฑนากรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านมัณฑนศิลน้ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ค้นคว้าทฤษฎีและองค์ความรู้ทางด้านมัณฑนคิลป้ เพื่อเป็นข้อมูลในการดำเนินงานด้าน มัณฑนศึลป็
(๒) ศึกษา สำรวจพื้นที่อาคาร สำนักงาน ที่รับผิดชอบทั้งภายในและภายนอกเพื่อวางผัง การตกแต่ง อาคาร สำนักงาน
(๓) ออกแบบ ตกแต่งภายในอาคาร กำหนดรายการประกอบแบบงานด้านมัณฑนศึลป็ และ องค์ประกอบที่เกี่ยวช้อง เพื่อให้ได้แบบที่ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน
(๔) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุครุภัณฑ์และงานระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็น ข้อมูลพื้นฐานสำหรับงานออกแบบ ตกแต่งด้านมัณฑนศึลป็
(๕) ดูแลการจัดทำครุภัณฑ์และงานมัณฑนศึลป้ เพื่อให้1ด้ผลงานตามรูปแบบรายการที่กำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป๋าหมายผลสัมฤทธิ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษาแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรู้ในวิชาชีพ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างถูกต้อง

วิชาที่สอบ

เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. หลักพฤกษศาสตร์เบื้องต้น การจำแนกพืช
๒. การปรับปรุงพันธุพืช การขยายพันธุพืชรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเพาะเมล็ด การติดตาต่อกิ่ง การเพาะเลี้ยงเบื้อเยื่อ เป็นต้น
๓. การดูแลบำรุงรักษา ได้แก่ การปลูก การปรับปรุงดิน การให้ป๋ย การให้นํ้า การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การตัดแต่งและควบคุมทรงพุ่ม การคํ้ายัน การล้อมย้าย รุกขกร
๔. การจัดภูมิทัศน์ ได้แก่ การตกแต่ง ปรับปรุงภูมิทัศน์ และสภาพแวดล้อม การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเมือง
๕. การส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ทางการเกษตร เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฏีใหม่
๖. เศรษฐกิจการเกษตร การพัฒนาธุรกิจการเกษตร
๗. เครื่องจักรกลการเกษตร และอุปกรณ์การเกษตรประเภทต่าง ๆ
๘. เทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร และการนำนวัตกรรมมาใซ้


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบ้ติงาน ดังนี้
–    การบัญชีเบื้องต้น เช่น การจัดทำทะเบียนคุมรายรับรายจ่าย การบันทึกสมุดรายวันทั่วไป บัญชีแยกประเภท
–    การจำแนกประเภทรายจ่ายงบประมาณ
–    กระบวนการจัดหาพัสดุตามระเบียบกำหนด
–    การตรวจสอบใบสำคัญเบิกเงิน และเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงิน
–    การเบิกเงิน การจ่ายเงิน การรับเงินและการเก็บรักษาเงิน
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใฃ้ไนการปฏิบัติงาน ได้แก่
–    พระราชบัญญ้ติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
–    ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก็ไขเพิ่มเดิม
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ข้อบัญญ้ติกรุงเทพมหานคร เรื่อง วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓


เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางการจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียม ได้แก่
๑. พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. ๒๕๖๒ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
๒. พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช ๒๔๗๕ และที่แกั!ขเพิ่มเดิม รวมถึงกฎหมายอื่น
ที่เกี่ยวข้อง
๓. พระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม รวมถึงกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
๔. พระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. ๒๕๑๐ และที่แกัเ1ขเพิ่มเดิม รวมถึงกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
๕. พระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๒
และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
๖. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การเก็บภาษีบำรุงกรุงเทพมหานครสำหรับนี้ามันเบนซิน และนี้ามันที่คล้ายกัน นํ้ามันดีเชลและนํ้ามันที่คล้ายกัน และก๊าชปิโตรเลียมจากสถานการค้าปลีก
พ.ศ. ๒๕๕๘
๗. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การจัดระเบียบการจอดรถ พ.ศ.๒๕๖๔


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถด้งต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติด้านงานธุรการ งานสารบรรณ งานพัสดุ การบริหารงานบุคคล และการงบประมาณ
๖. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
๖.๑ พระราชบัญญ้ติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๖ พระราชบัญญ้ติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๖๕๕๘
๒.๓ พระราชบัญญ้ติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๒.๔ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกั1ขเพิ่มเดิม
๒.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕
๒.๖ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แกั!ขเพิ่มเดิม
๒.๗ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๖.๘ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๙ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๑๐ ข้อบัญญ้ติกรุงเทพมหานคร เรื่อง รถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม


เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์
–    หลักการประชาสัมพันธ์
–    การผลิตและการเลือกใช้สื่อประชาสัมพันธ์
–    การเลือกใช้ช่องทางการเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์
๒. เทคนิคการสื่อสาร
–    ทฤษฏีการสื่อสาร
–    เทคนิคการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์
–    เทคนิคการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
๓. เทคโนโลยีสารสนเทศ
–    ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
–    ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์
๔. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน เช่น
–    พระราชบัญญ้ติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๔๐ และที่แกัเ.ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญ้ติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
–    พระราชบัญญ้ติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๔๖๐
–    พระราชบัญญ้ติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
๔. ความรู้เกี่ยวกับยุทธศาสตร์และนโยบายในระดับชาติและกรุงเทพมหานคร
๖. จรรยาบรรณและคุณสมบัติที่ดีของนักประชาสัมพันธ์


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ
๑.๑ การชื้อ จ้าง เช่า และแลกเปลี่ยน
๑.๒ การจ้างที่ปรึกษา
๑.๓ การจ้างออกแบบและควบคุมงาน
๑.๔ การทำสัญญาและการบริหารสัญญา
๑.๕ การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ และการจำหน่ายพัสดุ
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใฃ้ในการปฏีบิติงาน
๒.๑ พระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๒ กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๒.๑ กฎกระทรวงกำหนดให้หน่วยงานอื่นเป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติการจัดชื้อ-
จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๖.๒.๒ กฎกระทรวงกำหนดพัสดุและวิธีการจัดชื้อจัดช้างพัสดุที่รัฐต้องการล่งเสริมหรือสนับสนุน
พ.ศ. ๒๕๖๓ และที่แกัไขเพิ่มเดิม
๒.๒.๓ กฎกระทรวงกำหนดวงเงินการจัดชื้อจัดช้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดชื้อ-จัดจ้าง ที่ไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือและวงเงินการจัดชื้อจัดจ้างในการแต่งตั้งผู้ตรวจรับพัสดุ
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๒.๔ กฎกระทรวงกำหนดเรื่องการจัดชื้อจัดจ้างกับหน่วยงานของรัฐที่ใซ้สิทธิอุทธรณIมได้
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๖.๕ กฎกระทรวงกำหนดกรณีการจัดชื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ. ๒๕๖๑ และที่แกัเ.ขเพิ่มเดิม
๒.๓ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แกํไขเพิ่มเดิม
๒.๔ จรรยาบรรณชองผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ พ.ศ. ๖๕๔๓


เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ความรู้ด้านสถิติเบื้องต้นเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูลสถิติ การตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูล การเรียบเรียง การจัดลำดับข้อมูล ประมวลผล การทำแผนภาพทางสถิติ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ พื้นฐานสำหรับงานทางด้านสถิติ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญณูติสถิติ พ.ค, ๒๕๕๐ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญติ ข้อมูลข่าวสารชองราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญ้ติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒


เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถด้งต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบขอเขียน (คะแนนเต็ม ๖๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับงานสาธารณสุขเบื้องต้น ได้แก่
–    หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การช่วยปีนคืนชีพ (CPR ะ Cardio Pulmonary Resuscitation)
–    การปีนฟูสุขภาพ
–    การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
–    การควบคุมและป้องกันโรค
–    การส่งเสริมสุขภาพอนามัยตามกลุ่มวัย
–    งานทางด้านระบาดวิทยา การเฝืาระวังโรค การสอบสวนโรค
–    งานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม งานอาชีวอนามัย สุขาภิบาลอาหาร
–    งานสุขศึกษา เผยแพร่ อบรม สาธิตให้ความรู้ด้านสาธารณสุขแกอาสาสมัครสาธารณสุข กรรมการชุมชน ประชาชน และเครือข่ายสุขภาพ
–    การวิเคราะห์ปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหา การเขียนโครงการและประเมินโครงการ
๒    . กฎหมายและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสาธารณสุข ได้แก่
–    พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัดิโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
–    พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๒
–    ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิตามหลักประกันสุขภาพ ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน ประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว และสิทธิผู้ป่วย


เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบซ้อเขียน (คะแนนเต็ม ๖๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับงานด้านการติดต่อสื่อสารตามพระราชบัญญ้ติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ และที่แกัใขเพิ่มเดิม
๒. ระเบียบที่เกี่ยวข้องตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์
และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
๓. หลักการติดต่อสื่อสารที่กรุงเทพมหานครใช้ในปัจจุบัน เช่น Digital Trunked Radio System (DTRS)
๔. หลักปฏิบัติในการติดต่อสื่อสาร การใช้ การดูแลรักษาวิทยุสื่อสาร และเครื่องมือสื่อสาร
๕. การประยุกต์ใช้ระบบโขเชียลเน็ตเวิร์ก และการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้กับงานที่ปฏิบัติ ให้เหมาะสม และระบบสารสนเทศ
๖. การติดต่อวิทยุสื่อสารในระบบ VHF/FM ของกรุงเทพมหานคร


เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานโสตทัศนศึกษา ได้แก่
– การถ่ายภาพนึ่ง การถ่ายวีดิทัศน์ การบันทึกเสียง การคัดต่อลำดับภาพ การจัดทำสำเนาภาพ
สำเนาวดิทัศน์ และการใช้!ปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการนำเสนองานต่าง ๆ
– การใช้และควบคุมการใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ประเภทต่าง ๆ เช่น เครื่องฉายวิดีโอโปรเจคเตอร์ เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องขยายเสียง จอแอลอีดีในการประชุม สัมมนา และฟิกอบรมต่าง ๆ การประชุมออนไลน์
– การเก็บรักษา ซ่อมแชมเครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์
– การใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือด้านการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ การดูแลเว็บไซต์ และสื่อออนไลน์


เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ความรู้เกี่ยวกับงานห้องสมุด เสนอแนะในการคัดเสือกและจัดหาและทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด บันทึกลงรายการฐานข้อมูลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ให้บริการตอบคำถาม ช่วยค้นคว้าข้อมูล และอำนวยความสะดวกในการให้บริการแก่ประชาชน การเตรียมหนังสือ ควบคุม ดูแล จัดเก็บ และซ่อมแซมหนังสือที่ชำรุด จัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ์ห้องสมุดเพื่อชักจูงให้ประชาชนมาใช้บริการเพิ่มขึ้น เก็บรวบรวมสถิติและจัดทำรายงานประจำเดือน/ประจำปีของห้องสมุด เบิกจ่ายวัสดุ ดูแล ครุภัณฑ์ชองห้องสมุด และความรู้เกี่ยวกับ
–    การมีจิตใจในการให้บริการที่ดี (Service Mind)
–    การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
–    หลักการประสานงาน
–    หลักการประชาสัมพันธ์
–    ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy)
–    การรู้เท่าทันสื่อ
–    พระราชบัญญ้ติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
–    พระราชบัญญ้ติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
–    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แกั1ขเพิ่มเดิม


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
การบำรุงรักษา ซ่อม แกไข ปรับปรุง แผนงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ที่จะใช้กับเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องทุ่นแรง การออกแบบ เขียนแบบเครื่องกล การใช้เครื่องมือวัดละเอียด การสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียด การเชื่อมโลหะ การใช้งานเครื่องมือช่าง การดูแล จัดเก็บ และบำรุงรักษาอย่างถูกวิธี การจัดหาพัสดุมาใช้งาน อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทำรายงาน การจัดเก็บข้อมูลสถิติด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น การให้คำปรึกษา แนะนำที่เกี่ยวช้องกับงานในหนาที่กับผู้รับบริการ หรือประชาชนทั่วไป และมีความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ทางช่าง ในปัจจุบัน เทคนิคและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม หลักการทำงานและวิธีการใช้งาน เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องจักรกลต่าง ๆ


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถด้งต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบฃ้อเชียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับงานด้านเทคนิคต่าง ๆ เช่น ช่อม สร้าง ประกอบ บำรุงรักษา ดัดแปลง ออกแบบเนี้องต้น ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรกล การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ชิมนํ้า เครื่องทำความเย็น เครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ (ซิลเลอร์) เครื่องจักร เครื่องยนต์ งานโลหะ เครื่องมือเกี่ยวกับอุปกรณ์งานช่าง งานทางด้านสาธารณูปโภค งานเครื่องจักรกล เครื่องวิทยุคมนาคม งานก่อสร้าง เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งมีความรู้ในเรื่องการคำนวณรายการและประมาณราคาค่าอุปกรณ์ เพื่อใช้ในการประมาณราคา การจัดชื้อ อุปกรณ1ห้เหมาะสมต่อพื้นที่และการใช้งาน การประหยัดพลังงาน
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใชในการปฏิบ้ตงาน
–    พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกัไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๓ พ.ศ. ๒๕๓๕ ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเจียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ความรู้เกี่ยวกับงานด้านช่างไฟฟ้า ได้แก่ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเจียนแบบ อ่านแบบไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ การประมาณราคา การควบคุมงานและติดตั้งวัสดุ อุปกรณ์ ปรับปรุง ช่อม และบำรุงรักษา งานด้านการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าเบื้องต้น งานระบบไฟฟ้าสื่อสาร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื่องตรวจวัด ระบบพลังงานทดแทน การคำนวณหาขนาดวัสดุ อุปกรณ์ในงานระบบไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ การตรวจสอบ และ จัดทำแผนการช่อมบำรุง ดูแล รักษาวัสดุอุปกรณ์ ในงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งจัดทะเบียน รวบรวมและเก็บข้อมูล ทางสถิติของการใช้งาน


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. งานช่างสำรวจ
๒. งานช่างเขียนแบบ ออกแบบ และการกำหนดรายการประกอบแบบก่อสร้าง
๓. กฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายผังเมือง และกฎหมายสิ่งแวดล้อม
๔. งานถอดแบบ และประมาณราคาค่าก่อสร้าง
๕. การควบคุมการก่อสร้าง งานปรับปรงและซ่อมแซม
๖. การวางแผนงานโครงการก่อสร้าง
๗. การให้คำปรึกษา แนะนำ หรือตรวจสอบเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป


นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

ทดสอบปฏิบัติโดยการวาดภาพ จำนวน ๔ ข้อ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) เกี่ยวกับงานศิลปะ วิจิตรศิลป็ ประยุกต์ศิลป้ องค์ประกอบศิลป๋ นิทรรศการ และสี


นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถด้งต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้โนการปฏิบัติงานด้านช่างสำรวจ ได้แก่
–    งานสำรวจที่เกี่ยวกับการเก็บรายละเอียดสภาพภูมิประเทศ
–    งานวงรอบที่เกี่ยวกับวงรอบชนิดต่าง ๆ การตรวจสอบและปรับแก้วงรอบ
–    งานระดับที่เกี่ยวกับการสำรวจค่าระดับภูมิประเทศและการปรับแก้ เช่น การหาความสูงตํ่า ของพื้นที่ เกณฑ์ความถูกตอง การปรับแก้
–    งานคำนวณและเขียนแผนที่ เช่น การคำนวณระยะ การคำนวณพื้นที่จากค่าพิกัดฉาก สัญลักษณ์ต่าง ๆ ในงานแผนที่
–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม เช่น ประโยชน์ของ ภาพถ่าย หลักการแปลภาพถ่าย
–    ความรู้เกี่ยวกับระวางแผนที่
–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสำรวจและจัดทำแผนที่ด้วยระบบดาวเทียม
–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ที่ใข้โนงานเขียนแผนที่ เช่น โปรแกรม Autocad
–    ความรู้เกี่ยวกับการดูแล บำรุง รักษา เครื่องมือสำรวจ
๒. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายที่ใฃ้โนงานดูแลรักษาที่สาธารณะ ได้แก่
–    พระราชบัญญ้ติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ และที่แก้โขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญ้ติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ และที่แก้โขเพิ่มเดิม
–    ประมวลกฎหมายที่ดิน


พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถเกี่ยวกับงานเทศกิจ โดยแน่งออกเป็น ๒ ส่วน ได้แก่ การสอบข้อเขียน และ การสอบปฏิบัติ รายละเอียดคังนี้
©. การสอบช้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑.๑ พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกั[ขเพิ่มเดิม
๑.๒ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกัเ1ขเพิ่มเดิม
๑.๓ พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ และ
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมการขุดดิน การถมดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
๑.๔ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แกั[ขเพิ่มเดิม ในส่วนของการบังคับที่อย่ใน อำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
๑.๕ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แกัไขเพิ่มเดิม
๑.๖ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
๑.๗ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๖๕๒๘ และที่แก[ขเพิ่มเดิม
๑.๙ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๖๕๕๔
๑.๑๐ พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๖๕๖๒
๑.๑๑ ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การจำหน่ายสินคาในที่หรือทางสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๕
๑.๑๒ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแบ่งค่าปรับที่ได้จากการ เปรียบเทียบให้แก่ผู้แจ้งความนำจับตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและความเป็น ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐
๑.๑๓ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการดำเนินคดี พ.ศ. ๒๕๒๘
๑.๑๔ ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการกำหนดพื้นที่ทำการค้าและ การชายหรือจำหน่ายสินค้าในที่สาธารณะ ลงวันที่ ๖๘ มกราคม ๖๕๖๓ และที่แกIขเพิ่มเดิม
๑.๑๕ ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขายหรือจำหน่ายสินค้า ในพื้นที่ทำการค้าที่มีอัตลักษณ์ วิถีชุมชน ย่านพื้นที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว บริเวณย่านถนนข้าวสาร ลงวันที่ ๖๑ สิงหาคม ๒๕๖๓
๑.๑๖ ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขายหรือจำหน่ายสินค้า ในพื้นที่ทำการค้าที่มีอัตลักษณ์ วิถีชุมชน ย่านพื้นที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว บริเวณย่านถนนเยาวราช ลงวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๓
๑.๑๗ สิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
๑.๑๘ วินัยข้าราชการ
๑.๑๙ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
๒.๒ ว่ายนํ้า ระยะทาง ๖๕ เมตร
การปฏิบติ – ท่าเตรียม ผู้เข้ารับการทดสอบยืนที่จุดเริ่มต้นโดยให้ลงสระแล้วเกาะที่ขอบสระ ที่จุดเริ่มต้นพร้อมที่จะปฏิบัติ
–    ท่าปฏินัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบพุ่งตัวหรือเคลื่อนตัวออกจาก ขอบสระในจุดเริ่มด้นแล้วว่ายนํ้าโดยเร็วจนถึงขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็นจุดสิ้นสุด ให้ถือเอาส่วนใดของร่างกายแตะขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็นจุดสิ้นสุด
–    ห้ามมิให้ผู้เข้ารับการทดสอบเกาะทุ่นหรือขอบสระหรือใช้เท้าแตะพื้นสระในการพยุง การเคลื่อนตัวเช้าจุดสิ้นสุด ให้ถือว่า “ไม่ผ่าน”
เกณฑ์การทดสอบ เพศชาย ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน ๔๐ วินาที ถือว่า “ผ่าน” เพศหญิง ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน ๕๐ วินาทีถือว่า “ผ่าน” ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๒.๓
๒.๓ ลุกนง ภายในเวลา ๑ นาที
การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองข้างห่างกัน พอประมาณ ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ช่วยคุกเข่าอยู่บนปลายเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบโดยเอามือ ทั้งสองข้างกดข้อเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบไว้ให้ส้นเท้าติดพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ลุกขึ้นนั่งให้ศอกสองข้างแตะปลายเข่าแล้วกลับลงไปนอนราบนับเป็น ๑ ครั้ง ขณะปฏิบัตินิ้วมือประสานที่ท้ายทอย ตลอดเวลา และขณะที่ลุกขึ้นสู่ท่านั่งห้ามเอนคัวไปมา
เกณฑ์การทดสอบ เพศชาย ผู้ที่ทำได้ ๒๕ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” เพศหญิง ผู้ที่ทำได้ ๑๕ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๒.๔
๒.๔ ดันพื้น ภายในเวลา ๑ นาที
การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนควํ่ามือยันพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกันพอประมาณ ลำตัวเหยียดตรง (เพศชายให้ปลายเท้าจรดพื้น, เพศหญิงให้หัวเข่าและปลายเท้าจรดพื้น) ยุบแขนทั้งสองข้างลง พร้อมกันให้บริเวณหน้าอกห่างจากพื้นประมาณ ๑ ฝ่ามือ แล้วตันลำตัวขึ้น ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือแขนทั้งสองข้างขึ้นไม่พร้อมกัน
เกณฑ์การทดสอบ เพศชาย ผู้ที่ทำได้ ๒๐ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” เพศหญิง ผู้ที่ทำได้ ๒๐ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
ทั้งนิ้ การทดสอบสมรรถภาพร่างกายจะไม่มีการกำหนดคะแนน และใช้เกณฑ์การตัดสิน “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผู้ที่ผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย จึงจะมีสิทธิเข้ารับการประเมินในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง ต่อไป


พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการทะเบียนและปกครอง ได้แก่
–    การเลือกตั้งระดับชาติ การลงประชามติ การเลือกตั้งระดับท้องถิ่นของกรุงเทพมหานคร
–    ด้านการทะเบียนราษฎรได้แก่ การแจ้งย้ายที่อยู่ การแจ้งการเกิด การแจ้งการตาย การแก้!ชรายการ การออกเลขหมายประจำบ้าน และการลงทะเบียนแรงงานต่างด้าว
–    การทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชน
–    การทะเบียนทั่วไป ได้แก่ ทะเบียนสมรส ทะเบียนหย่า ทะเบียนรับรองบุตร ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม ทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว และทะเบียนชื่อบุคคล
–    ด้านการทะเบียนปกครอง ได้แก่ ทะเบียนพินัยกรรม ทะเบียนมูลนิธิ สมาคม ทะเบียนพาณิชย์ ทะเบียนศาลเจ้า ทะเบียนสัตว์พาหนะ
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการปฏิบัติงาน ได้แก่
–    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้!ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐
–    พระราชบัญญ้ติสัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ และที่แก้!ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญ้ติจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. ๒๔๗๘ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญ้ติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้!ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญ้ติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญ้ติชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ และที่แก้!ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญ้ติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
–    พระราชบัญญ้ติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
–    ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑ (ส่วนมูลนิธิและสมาคม) และบรรพ ๕
–    ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. ๒๕๔๑
–    ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการทะเบียนชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๕๑
–    กฎเสนาบดีว่าด้วยที่กศลสถานชนิดศาลเจ้า พ.ศ. ๒๔๖๓


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถเกี่ยวกับป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ได้แก่ การสอบข้อเขียน และการสอบปฏิบัติ รายละเอียดดังนี้
๑. การสอบขัอเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการและปฏิบัติการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น สำรวจตรวจตราเพื่อป้องกันและระงับอัคคีภัย การป้องกันและบรรเทาอันตรายจากอุทกภัย วาตภัย และภัยอื่น ๆ เป็นต้น รวมทั้งทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพื่นฟูและบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย
๑.๒ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
–    พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐
’ พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกั1ขเพิ่มเติม
–    พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม (เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้อง
กับการป้องกันอัคคีภัย) และกฎกระทรวงฉบับที่ ๓๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕) กฎกระทรวงฉบับที่ ๓๙ (พ.ศ. ๒๕๓๗) กฎกระทรวงฉบับที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
–    กฎกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและ
ระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕
๒. การสอบปฏิบัติ
ผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งจะต้องเข้ารับการทดสอบการปฏิบัติงาน เพื่อเตรียมความพร้อมทางร่างกาย ซึ่งจะต้องทดสอบผ่านทุกข้อ จึงจะถือว่า “ผ่าน” ด้งนี้
๒.© วิ่ง ระยะทาง ๑,๐๐๐ เมตร
เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน ๖ นาที ถือว่า “ผ่าน” และมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๒.๒
๒.๒ ว่ายนํ้า ระยะทาง ๕๐ เมตร
เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน ๑ นาที ๓๐ วินาที โดยไม่สาวลู่ ถือว่า “ผ่าน”
และมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๒.๓
๒.๓ ทดสอบความพร้อมในการปฏิบ้ตงานด้วยท่าต่าง ๆ จำนวน ๔ ท่า
เกณฑ์การหดสอบ จะตองทดสอบผ่านอย่างน้อย ๓ ท่าใน ๔ ท่า จึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้
(๑) ดึงข้อ
การปฏิบัติ ะ ผู้เข้ารับการทดสอบจับราวเดี่ยวด้วยท่าจับควํ่ามือ มือห่างกันเท่าช่วงใหล่ ปล่อยตัวให้ตรงจนแขน ลำคัว และขาเหยียดตรง เท้าพ้นพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ผู้เข้ารับการทดสอบออกแรง โดยงอแขนดึงคัวขึ้นให้คางพ้นหรือเสมอระดับราวแล้วปล่อยตัวลงให้ศีรษะตํ่ากว่าราว เท่ากับการนับ ๑ ครั้ง
เกณฑ์การทดสอบ
–    ผู้เข้าทดสอบเพศชายดึงข้อได้ครบ ๕ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” หากดึงข้อไม่ครบ ๕ ครั้ง และเท้าแตะพื้น ถือว่า “ไม่ผ่าน”
–    ผู้เข้าทดสอบเพศหญิงดึงข้อได้ครบ ๓ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
หากดึงข้อไม่ครบ ๓ ครั้ง และเท้าแตะพื้น ถือว่า “ไม่ผ่าน”
(๒) ลุกนั่ง ภายในเวลา ๑ นาที
การปฏิบัติ ะ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย เช่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองข้างห่างกัน พอประมาณ ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ช่วยคุกเข่าอยู่บนปลายเท้าของผู้รับการทดสอบ โดยเอามือ ทั้งสองข้างกดข้อเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบไว้ให้ส้นเท้าติดพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ลุกขึ้นนั่ง ให้ศอกทั้งสองข้างแตะปลายเข่าแล้วกลับลงไปนอนราบนับเป็น ๑ ครั้ง ขณะปฏิบัตินิ้วมือประสานที่ท้ายทอย ตลอดเวลา
เกณฑ์การหดลอบ ผู้ที่ทำได้ ๒๐ ครั้งถือว่า “ผ่าน”
(๓) แบกตุ๊กตานํ้าหนัก ๕๐ กิโลกรัม
การปฏิบัติ : ผู้เข้ารับการทดสอบแบกตุ๊กตา ขึ้นและลงบันไดดับเพลิงความสูง ๒ เมตร เกณฑ์การหดลอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน ๔๕ วินาที ถือว่า “ผ่าน”
(๔) ดันพื้น ภายในเวลา ๑ นาที
การปฏิบัติ ะ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนควํ่ามือยันพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกันพอประมาณ ลำตัวเหยียดตรงปลายเท้าจรดพื้น ยุบแขนทั้งสองข้างลงพร้อมกันให้บริเวณหน้าอกห่างจากพื้น ๑๕ เชนติเมตร แล้วดันลำตัวขึ้น แขนทั้งสองเหยียดตรง ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือแขนทั้งสองข้างขึ้นไม่พร้อมกัน เท่ากับการนับ ๑ ครั้ง
เกณฑ์การหดสอบ ผู้หี่ทำได้ ๒๐ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
ทั้งนี้ การทดสอบการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมความพร้อมทางว่างกาย จะไม่มีการกำหนดคะแนน และใช้เกณฑ์การตัดสิน “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผู้สอบผ่านการทดสอบการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมความพร้อมทางว่างกาย จึงจะมีสิทธิเข้าสอบในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป


โภชนากรปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๖๐๐ คะแนน) ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางโภชนาการ ได้แก่
–    ความรู้ทั่วไปด้านอาหารและโภชนาการ
–    ความรู้เกี่ยวกับการจัดบริการอาหารในโรงพยาบาล การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียน และการคำนวณอาหารปริมาณมาก
–    ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยในอาหาร
–    ความรู้เนี้องต้นในการให้คำปรึกษา คำแนะนำด้านอาหารตามหลักโภชนาการ และโภชนบำบัด แก่ผู้ป่วย และประชาชน
–    การคำนวณพลังงานและสารอาหารโดยใช้รายการอาหารแลกเปลี่ยน


เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถเกี่ยวกับงานเทศกิจ โดยแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ได้แก่ การสอบข้อเขียน และ การสอบปฏิบ้ติ รายละเอียดดังนี้
๑. การลอบข้อเขียน (๖๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้เกี่ยวกับการศึกบา วิเคราะห์ การกำหนดมาตรการ แนวทางปฏิบัติงาน การจัดทำแผน การวางแผน การข่าว การใซ้กำลังคนด้านเทศกิจ การควบคุม ดูแล การตรวจตราพื้นที่ สังเกตความผิดปกติของวัตถุ สิ่งของหรือบุคคล การเฝืาระวังการดำเนินการต่าง ๆ ของประชาชน การปฏึบ้ติงานมวลชนสัมพันธ์
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
๑.๓ บทบาทและอำนาจของเจ้าหน้าที่เทศกิจในเรื่องการจับ การปรับ การดำเนินคดี การยึดอายัด เอกสารหลักฐาน ยานพาหนะ หรือสิ่งใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา ประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ความเข้าใจในกฎหมายปกครองเพื่อป้องกันการถูกตำเนินคดีทางปกครอง การดำเนินการทางปกครอง
๑.๔ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
–    พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๖๕๓๕ และที่แกัไขเพิ่มเติม
–    พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกัไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๖๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม ในส่วนของการบังคับที่อยู่ใน อำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
–    พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ และข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง
ควบคุมการขุดดิน การถมดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
–    พระราชบัญญัติวิธีปฏิบีตราชการทางปกครอง พ.ศ. ๖๕๓๙ และที่แกั[ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๖๕๓๙
–    พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
–    พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๖๕๒๘ และที่แกั1ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๖๕๕๔
*    พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๖
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๕
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแบ่งค่าปรับที่ได้จาก การเปรียบเทียบให้แก่ฝัแจ้งความนำจับตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการดำเนินคดี พ.ศ. ๒๕๒๘
–    ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการกำหนดพื้นที่ทำการค้าและ การขายหรือจำหน่ายสินค้าในที่สาธารณะ ลงวันที่ ๒๘ มกราคม ๖๕๖๓ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขายหรือจำหน่ายสินค้า
ในพื้นที่ทำการค้าที่มีอัตลักษณ์ วิถีขุมชน ย่านพื้นที่ล่งเสริมการท่องเที่ยว บริเวณย่านถนนข้าวสาร ลงวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๖๕๖๓
–    ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขายหรือจำหน่ายสินค้า ในพื้นที่ทำการค้าที่มีอัตลักษณ์ วิถีชุมชน ย่านพื้นที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว บริเวณย่านถนนเยาวราช ลงวันที่ ๖๑ สิงหาคม ๖๕๖๓
–    สิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
’    วินัยข้าราชการ
–    ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
๒. การสอบปฏิบัด
ผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถท้ใฃ้เฉพาะตำแหน่งจะต้องเข้ารับการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย ซึ่งจะต้องทดสอบผ่านทุกข้อจึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้
๒.๑ วิ่ง ระยะทาง ๔๐๐ เมตร
เกณฑ์การทดสอบ เพศชาย ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน๑นาที๔๕ วินาที ถือว่า “ผ่าน” เพศหญิง ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน ๒ นาที ถือว่า “ผ่าน” ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๖.๖
๒.๒ ว่ายนา ระยะทาง ๒๕ เมตร
การปฏิบ้ติ – ท่าเตรียม ผู้เข้ารับการทดสอบอืนที่จุดเริ่มด้นโดยให้ลงสระแล้วเกาะที่ขอบสระ ที่จุดเริ่มต้นพร้อมที่จะปฏิบัติ
–    ท่าปฏิบัติ เมื่อใต้ยินสัญญาณ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบทุ่งตัวหรือเคลื่อนตัวออกจาก ขอบสระในจุดเริ่มต้นแล้วว่ายนํ้าโดยเร็วจนถึงขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็นจุดสิ้นสุด ให้ถือเอาส่วนใดของร่างกายแตะขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็นจุดสิ้นสุด
–    ห้ามมีให้ผู้เข้ารับการทดสอบเกาะทุ่นหรือขอบสระหรือใช้เท้าแตะพื้นสระในการพยุง การเคลื่อนตัวเข้าจุดสิ้นสุด ให้ถือว่า “ไม่ผ่าน”
เกณฑ์การหดสอบ เพศชาย ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน ๔๐ วินาที ถือว่า “ผ่าน” เพศหญิง ผู้’ที่ทำเวลาไม่เกิน ๕๐ วินาที ถือว่า “ผ่าน” ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๒.๓
๒.๓ ลุกนง ภายในเวลา ๑ นาที
การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองข้างห่างกัน พอประมาณ ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ช่วยคุกเข่าอยู่บนปลายเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบโดยเอามือ ทั้งสองข้างกดข้อเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบไวิให้ล้นเท้าติดพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ลุกขึ้นนั่งให้ศอกสองข้างแตะปลายเข่าแล้วกลับลงไปนอนราบนับเป็น ๑ ครั้ง ขณะปฏิบัตินิ้วมือประสานที่ท้ายทอย ตลอดเวลา และขณะที่ลุกขึ้นส่ท่านั่งห้ามเอนตัวไปมา
เกณฑ์การทดสอบ เพศชาย ผู้ที่ทำได้ ๒๕ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
เพศหญิง ผู้ที่ทำได้ ๑๕ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๒.๔
๒.๔ ดันพื้น ภายในเวลา ๑ นาที
การปฏิบ้ติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนควํ่ามือยันพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกันพอประมาณ ลำตัวเหยียดตรง (เพศชายให้ปลายเท้าจรดพื้น, เพศหญิงให้หัวเข่าและปลายเท้าจรดพื้น) ยุบแขนทั้งสองข้างลง พร้อมกันให้บริเวณหน้าอกห่างจากพื้นประมาณ ๑ ฝ่ามือ แล้วดันลำตัวขึ้น ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือแขนทั้งสองข้างขึ้นไม่พร้อมกัน
เกณฑ์การหดสอบ เพศชาย ผู้ที่ทำได้ ๖๐ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
เพศหญิง ผู้ที่ทำได้ ๒๐ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
ทั้งนี้ การทดสอบสมรรถภาพร่างกายจะไม่มีการกำหนดคะแนน และใช้เกณฑ์การตัดสิน “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผู้ที่ผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย จึงจะมีสิทธิเข้ารับการประเมนในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง ต่อไป


นักพัฒนาการท่องเที่ยวปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านพัฒนาการท่องเที่ยว ได้แก่
๑. นโยบาย การวางแผน การสำรวจ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านการท่องเที่ยว
๖. ข้อมูลพื้นฐานด้านประวิติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยว โครงสร้างพื้นฐานของเมือง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
๓. การอนุรักษ์ พื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
๔. มาตรฐานการท่องเที่ยว
๕. การพัฒนาและส่งเสริมสินค้า บริการ และผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
๖. เครือข่ายความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว
๗. การประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการตลาดท่องเที่ยว
๘. การจัดกิจกรรมงานเทศกาล งานประเพณีในกรุงเทพมหานคร
๙. การส่งเสริมสนับสนุนอุตสาหกรรมไมฃ์ (MICE)
๑๐. ความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยวชุมชน
๑๑. มาตรการความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว
๑๒. ความรู้พื้นฐานด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการท่องเที่ยว
๑๓. ความรู้ด้านสื่อสาธารณะ
๑๔. บทบาทหน้าที่ของกรุงเทพมหานครด้านการท่องเที่ยว


นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ

ทดสอบความรูความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ความรู้เกี่ยวกับการปฏีนัติงานด้านพัฒนาสังคม ได้แก่
๑. ข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน และการสังคมสงเคราะห์
–    พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
–    พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม (ฉบบที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖
–    พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
–    พระราชบัญญ้ติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑
–    พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ – ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๓๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนนการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๔
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยกองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๓๘ และที่แก้โขเพิ่มเดิม – ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๕๗
และที่แก!,ขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าตอบแทนแก่บุคคลภายนอกที่ช่วยปฏิบัติราชการด้านการ พัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๓๘ และที่แก้โขเพิ่มเดิม
๒. ความรู้และกระบวนการเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
–    แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม ชุมชน และการสังคมสงเคราะห์ เช่น หลักการพัฒนา ชุมชน หลักการส่งเสริมการมีส่วนร่วม สนับสนุนการเข้าถึงสิทธิและบริการขั้นพื้นฐานข้อมูลชุมชน วิธีการและกระบวนการพัฒนาชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชนและผู้นำชุมชน การจัดการความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านต่าง ๆ การวางแผนงาน โครงการและการติดตาม ประเมินผลเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนและสังคมในด้านต่าง ๆ เป็นต้น
–    ทักษะเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนและการสังคมสงเคราะห์ เช่น เทคนิคการประสานงาน เทคนิคการถ่ายทอดความรู้และการนิกอบรม หลักการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
–    การส่งเสริมอาชีพ กองทุนชุมชน และการบริหารเงินออม
–    การมีส่วนร่วมภาคประชาชน
–    ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP), Bangkok Brand, MIB


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๖๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับทักษะภาษาอังกฤษ
–    หลักภาษาอังกฤษ การฟัง พูด อ่าน เขียน (Grammar and Vocabulary)
–    การเขียนภาษาอังกฤษในการสื่อสารอย่างตรงประเด็นและครบความ (Effective Communication)
–    การเขียนหนังสือราชการภาษาอังกฤษรูปแบบต่าง ๆ และการโต้ตอบผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(Formal Letters and Speeches and E-correspondence)
–    การอ่านจับใจความ การย่อความ และการดีความ
–    การแปลและล่าม อังกฤษ – ไทย ไทย – อังกฤษ
๖. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
–    การวางแผนดำเนินงาน/กิจกรรมในระดับเบื้องต้น
–    ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
–    งานการต่างประเทศของกรุงเทพมหานคร ยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานคร (อ้างอิงจากเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร)
–    การต่างประเทศในระดับท้องถิ่น
–    สถานการณ์เลกในปัจจุบัน เช่น สถานการณ์ภูมิรัฐศาสตร์ แนวโน้มเศรษฐกิจโลก ความร่วมมือ ระหว่างประเทศต่าง ๆ เป็นต้น
–    วาระระดับโลกเพื่อการพัฒนาเมือง (Global Agenda for City Development) เช่น Sustainable Development Goals (SDGs), Smart City, Sendai Framework เป็นต้น
–    การแกัเชปัญหาเฉพาะหน้า
–    การสื่อสารเพื่อการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพ
–    หลักพิธีการทูตและมารยาททางสังคม (Protocol and Social Etiquette)
– กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางไปราชการต่างประเทศ


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถด้งต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะงานที,ปฏิบัติ
๑.๑ หลักวิชาการเงิน การเบิกเงิน การจ่ายเงิน การรับเงิน การนำส่งเงิน การตรวจเงิน และการอนมติฎีกา
๑.๒ หลักการบัญชี การจัดทำงบการเงิน งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร หลักการบัญชีคู่ ตรวจสอบบัญชีการเงินเบื้องต้น
๑.๓ หลักวิชาการงบประมาณ และการบริหารงบประมาณ
๑.๔ หลักวิชาการจัดหาพัสดุ
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใฃ้ในการปฏิบัติงาน
๒.๑ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ก็. ๒๕๖๐
๒.๖ พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ก็. ๒๕๖๑ และที่แกIขเพิ่มเดิม
๖.๓ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๖๕๖๐
๒.๓ ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง วิธีการงบประมาณ พ.ก็. ๒๕๖๓
๖.๔ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการกำหนดประเภทรายรับ – รายจ่าย และการปฏิบัติเกี่ยวกับ งบประมาณ พ.ก็. ๒๕๓๓ แก้ไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๖) พ.ก็. ๒๕๓๖ และแก้ไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๔๐
๒.๕ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงินและ การตรวจเงิน พ.ก็. ๒๕๕๕ และแก้1ขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ก็. ๒๕๖๐


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๖๐๐ คะแนน)
๑. การถ่ายภาพนึ่ง การถ่ายวีดิทัศน์ การบันทึกเสียง การตัดต่อลำดับภาพ การจัดทำสำเนาภาพ สำเนาวิดิทัศน์ และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการนำเสนองานต่าง ๆ
๒. การใช้และควบคุมการใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ประเภทต่าง ๆ เช่น เครื่องฉายวิดีโอโปรเจคเตอร์ เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องขยายเสียง จอแอลอีดีในการประชุม สัมมนา และฟิกอบรมต่าง ๆ การประชุมออนไลน์
๓. การเก็บรักษา ช่อมแซมเครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์
๔. การใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือด้านการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ การออกแบบเว็บไซต์ การผลิตสื่อออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้และการประชาสัมพันธ์
๕. การถ่ายทอดสดผ่านสื่อออนไลน์ เช่น facebook Streaming
๖. การเขียน เรียบเรียง คำบรรยายภาพ คำบรรยายแผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ โปสเตอร์ บทรายการวิทยุ หรือบทวิดิทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้หรือข้อมูลเพื่อเป็นประโยชน์โนด้านต่าง ๆ


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. การปฏิบัติตามกฎหมาย กรอบธรรมาภิบาล (Governance Framework) และหลักปฏิบัติ (Principles)
ที่ดีด้านดิจิทัล เพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล
๖. การวิเคราะห์ ออกแบบ การพัฒนา การดูแล การบำรุงรักษา และการรักษาความปลอดภัยของ
– ระบบการบริหารจัดการฐานข้อมูล (Database Management Systems)
– ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
– ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
– การเขียนชุดคำสั่ง (Coding) โปรแกรมประยุกต์ สำหรับ Mobile Application, Web Application รวมถึง Application สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์
๓. หลักการออกแบบเทคโนโลยี Cloud Computing
๔. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน
๔. การบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) และการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Data Analytics)
๖. ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance)
๗. องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ลูกข่าย เข่น Micro Computer, Mobile Device


นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
–    พระราชบัญญ้ติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๔๒ และที่แกั1ชเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญ้ติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๒
–    พระราชบัญญติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิท้ล พ.ศ.๒๔๖๖
–    พระราชบัญญ้ติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๖๔๔๐
–    พระราชบัญญ้ติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๖๔๔๔
–    นโยบายทางการศึกษา ทิศทางปฏิรูปประเทศ เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๔๖๐ – ๒๔๗๙ และนโยบายด้านการศึกษาของกรุงเทพมหานคร
–    การจัดการศึกษา หลักสูตร สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา การแนะแนว การวิจัยทางการศึกษา การวัดและประเมินผลการจัดการศึกษา
– การจัดทำแผนงาน โครงการ/กิจกรรม เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม – แนวโน้มเกี่ยวกับการศึกษายุคใหม่ สภาพแวดล้อม สถานการณ์ปัจจุบันทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
และการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา


นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเซียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ๑. ความรู้ความเข้าใจด้านสิ่งแวดล้อม
–    สถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมด้านอากาส ขยะ นํ้าเสีย และพื้นที่สีเซียว
–    การจัดการมลพิษทางอากาศในเขตเมือง
–    การติดตามตรวจสอบและเดีาระวังคุณภาพอากาศและเสียง
–    การแล้[ขปัญหามลพิษด้านฝ่นละออง PMfe.๕
–    การบริหารจัดการ การลด การคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ การรวบรวม และการกำจัดขยะ
–    การบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวในเมือง
–    การลดก๊าชเรือนกระจก การบริหารจัดการและการพัฒนาความร่วมมือด้านการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ
–    การส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน
–    หลักการ ขั้นตอน แนวทาง และกระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
–    การวางแผน จัดทำ และบริหารโครงการด้านสิ่งแวดล้อม
๒    . กฎหมายที่เกี่ยวช้องกับงานด้านสิ่งแวดล้อม
–    พระราชบัญญ้ติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาดิ พ.ศ. ๒๕๓๕ และแล้!1ข เพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
–    พระราชบัญญ้ติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ แล้1ขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐
และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐
– พระราชบัญญ้ติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และแล้[ขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
๓. การสร้างเครือข่าย การมีส่วนร่วม การประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่ และการจัดการความขัดแย้ง ด้านสิ่งแวดล้อม


นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ ข่าวสาร การเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์ และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เช่น สังคมของผู้สูงอายุ เครือข่ายสังคมออนไลน์ การตั้งครรภ์ไม่พร้อม ความรุนแรงในเด็กและเยาวชนเพิ่มมากขึ้นในชุมชนและโรงเรียน คนไร้บ้าน คนพิการในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ความเหลื่อมลํ้าทางสังคม การไม่เสือกปฏิบัติ ความอคติทางเพศ การเสริมพลัง (Empowerment) ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชน การป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดในชุมชน สถานศึกษา และสถานประกอบการ ภารกิจและบทบาทหน้าที่นักสังคมสงเคราะห์สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้อง กับนโยบาย ๙ ด้าน ๙ ดี ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นด้น
๒. ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสังคมที่เกี่ยวข้องกับงานสังคมสงเคราะห์และพิทักษ์สิทธิผู้รับบริการ เช่น เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ เบี้ยความพิการ สิทธิผู้ปวย สิทธิเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด ความเสมอภาคในการเข้าถึงบริการของรัฐ ได้แก่ ความรู้เรื่องกองทุนตามพระราชบัญญัติต่าง ๆ ความรู้เรื่องใบประกอบวิชาชีพเป็นนักสังคมสงเคราะห์รับอนุญาต ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๕๖
๓    . ความรู้เกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์1นระดับจุลภาค มหภาค จรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพ มีความรู้ในการจัดการรายกรณี (Case Manager)
๔    . ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือในการปฏึบํติงานสังคมสงเคราะห์แก่ผู้รับบริการทุกกลุ่มเป้าหมาย การประสานงาน เครือข่ายการช่วยเหลือสังคม และการทำงานในเซิงสหวิชาชีพ
๕    . ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิน้ติงานสังคมสงเคราะห์ ได้แก่
–    พระราชบัญญ้ติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไชเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญ้ติใหใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. ๖๕๖๔ พระราชบัญญติวิธีพิจารณา
คดียาเสพติด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔
–    พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
–    พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แกั1ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติล่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
–    พระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. ๒๕๕๗
–    พระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๕๖
–    พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. ๖๕๕๙
–    พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. ๖๕๕๑ และที่แกัไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๖๕๖๒
–    พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม


มัณฑนากรปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยใช้วิธีการสอบข้อเขียนและทดสอบปฏิบัติ
(คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนคิลป็
–    การวางผังและการออกแบบ
–    โครงสร้างสถาปัตยกรรมภายใน พื้น ผนัง เพดาน
–    ความรู้ด้านวัสดุและเทคนิคการก่อสร้าง
–    ความรู้ด้านระบบภายในอาคาร (ไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ สุขาภิบาล)
๖. การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนคิลป็
–    ทดสอบความเข้าใจในเรื่องแนวคิด วิเคราะห์ ด้านการวางผัง และการออกแบบเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
–    การใช้วัสดุในการออกแบบ การวางผังครุภัณฑ์ การใช้สี การจัดองค์ประกอบนำเสนอรูปแบบผัง
รูปด้าน รูปตัด แบบขยายรายละเอียด ภาพ ๓ มิติ
วิธีการสอบ
๑. สอบข้อเขียน    จำนวน ๕ ข้อ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
๒. สอบภาคปฏิบัติ    จำนวน ๑ ข้อ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)


วิธีการสมัครงานข้าราชการ กทม.  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 30 ม.ค. – 13 ก.พ. 2566 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครกทม.

ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร

ตำแหน่ง: เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน,นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน,นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน,นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน,นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน,พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน,พนักงานปกครองปฏิบัติงาน,พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน,โภชนากรปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ,นักพัฒนาการท่องเที่ยวปฏิบัติการ,นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ,นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ,นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ,นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ,นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ,นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ,นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ,มัณฑนากรปฏิบัติการ
ระดับการศึกษา: ปวช.,ปวช.ทุกสาขา,ปวช.,ปวส.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 9,400-15,800
อัตราว่าง: 528
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร ()
การสอบภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของ ก.พ.: **เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**

วิธีการสมัครงานข้าราชการ กทม.  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 30 ม.ค. – 13 ก.พ. 2566 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครกทม.

ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร


คลิกที่น่เพื่อค้นหาคู่มือ/หนัสือเตรียมสอบสำหรับ : กทม.