กฎหมายระหว่างประเทศ จันตรี สินศุภฤกษ์

Original price was: 450฿.Current price is: 427฿.

คำอธิบาย

สารบัญ
บทที่ 1 ลักษณะและวิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศในระบบ
ระหว่างประเทศ
1. วิวัฒนาการและโครงสร้างของสังคมระหว่างประเทศกับ
กฎหมายระหว่างประเทศ
2. กฎหมายระหว่างประเทศกับกระบวนการนิติบัญญัติหรือการสร้างกฎหมาย
3. สภาพบังคับและประสิทธิภาพของกฎหมายระหว่างประเทศ
4. บทบาทของกฎหมายระหว่างประเทศกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
บทที่ 2 แหล่งกํา เนิดหรือที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ
1. มาตรา 38 แห่งธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
1.1 แหล่งกํา เนิดหรือที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศในด้านรูปแบบ
และในด้านเนื้อหา
1.2 แหล่งกํา เนิดหรือที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศในด้านเนื้อหา
และในด้านที่เป็นหลักฐาน
2. สนธิสัญญา
3. กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
3.1 องค์ประกอบของกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
3.1.1 ทางปฏิบัติของรัฐ
3.1.1.1 ทางปฏิบัติที่ซ้ํา ๆ กันอย่างสม่ํา เสมอ
3.1.1.2 ทางปฏิบัติที่เป็นการทั่วไป
3.1.1.3 ระยะเวลาของการปฏิบัติ
3.1.2 ความเขื่อว่าทางปฏิบัตินั้นเป็นพันธกรณีทางกฎหมาย
4. หลักกฎหมายทั่วไป
4.1 กฎเกณฑ์และหลักที่มีอยู่ร่วมกันในทุกระบบกฎหมาย
ศาสตราจารย์ จันตรี สินศุภฤกษ์
4.2 แนวความคิดตามกฎหมายแห่งชาติในด้าน
สารบัญ
ญัติ
4.3 หลักแห่งความเที่ยงธรรม
5. คํา ตัดสินของศาล
6. หลักคํา สอนของผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศ
7. แหล่งกํา เนิดหรือที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศที่มิได้บัญญัติไว้ใน
ธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
7.1 การกระทํา ฝ่ายเดียวของรัฐ
7.2 การกระทํา ฝ่ายเดียวขององค์การระหว่างประเทศ
บทที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน
1. ทฤษฎีว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศ
กับกฎหมายภายใน
1.1 ทฤษฎีเอกนิยม
1.2 ทฤษฎีทวินิยม
2. หลักเกณฑ์และทางปฏิบัติของประเทศไทยเกี่ยวกับการนํา กฎหมาย
ระหว่างประเทศมาใช้บังคับ
2.1 หลักเกณฑ์และทางปฏิบัติของประเทศไทยเกี่ยวกับการนํา สนธิสัญญา
มาใช้บังคับ
2.2 หลักเกณฑ์และทางปฏิบัติของประเทศไทยในการนํา กฎหมาย
จารีตประเพณีระหว่างประเทศมาใช้บังคับ
บทที่ 4 บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ
1. แนวคิดเกี่ยวกับสภาพบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ
2. บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ
2.1 รัฐ
2.1.1 กํา เนิดของรัฐ
2.1.1.1 รัฐต้องมีดินแดนที่แน่นอน
กฎหมายระหว่างประเทศ (
สารบัญ
) q ix
2.1.1.2 รัฐต้องมีประชากรหรือจํา นวนประชาชนพลเมืองถาวร
2.1.1.3 รัฐต้องมีรัฐบาล
2.1.1.4 รัฐต้องมีความสามารถที่จะเข้าสู่ความสัมพันธ์กับรัฐอื่น
2.1.2 การรับรองรัฐและการรับรองรัฐบาล
2.1.2.1 การรับรองรัฐ
(1) ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรองรัฐ
(2) วิธีการรับรองรัฐ
(3) การรับรองร่วมกัน
(4) ผลของการรับรองรัฐในกฎหมายระหว่างประเทศ
2.1.2.2 การรับรองรัฐบาล
(1) หลักการว่าด้วยประสิทธิภาพของรัฐบาล
(2) หลักการว่าด้วยความชอบธรรม
(3) แนวทางการรับรองรัฐบาลแบบอัตวิสัย
2.1.3 สิทธิและหน้าที่ของรัฐ
2.1.3.1 สิทธิขั้นพื้นฐานของรัฐ
2.1.3.1.1 สิทธิในเอกราชอธิปไตย
(1) สิทธิในเอกราชอธิปไตยภายใน
(2) สิทธิในเอกราชอธิปไตยภายนอก
2.1.3.1.2 สิทธิแห่งความเสมอภาคของรัฐ
(1) หลักการไม่เลือกปฏิบัติ
(2) หลักการต่างตอบแทน
2.1.3.2 หน้าที่ขั้นพื้นฐานของรัฐ
2.1.4 การสืบทอดของรัฐ
ศาสตราจารย์ จันตรี สินศุภฤกษ์
2.1.4.1 การสืบทอดของรัฐในส่วนที่เกี่ยวกับสนธิสัญญา
2.1.4.1.1 หลักเกณฑ์ทั่วไปเกี่ยวกับการสืบทอดของรัฐ
ในส่วนที่เกี่ยวกับสนธิสัญญา
(1) หลักทั่วไป
(2) สนธิสัญญาที่กํา หนดเขตแดนและสนธิสัญญาที่ก่อตั้ง
ระบอบของดินแดน
ก. สนธิสัญญาที่กํา หนดเขตแดน
ข. สนธิสัญญาที่ก่อตั้งระบอบของดินแดน
1) ระบอบภาวะวิสัยถาวรที่ผูกพันเพียงกลุ่ม
รัฐหนึ่งเท่านั้น
2) ระบอบภาวะวิสัยที่ผูกพันนานาประเทศ
2.1.4.1.2 ผลของการสืบทอดของรัฐในส่วนที่เกี่ยวกับ
สนธิสัญญาในรูปแบบต่าง ๆ
(1) รัฐที่ได้รับเอกราชใหม่
(2) การรวมตัวเข้าเป็นสหพันธรัฐ
(3) การแยกรัฐ
2.1.4.2 การสืบทอดของรัฐในส่วนที่เกี่ยวกับทรัพย์สิน
บรรณสารและหนี้สินของรัฐ
2.1.4.2.1 กรณีรัฐที่ได้รับเอกราชใหม่
2.1.4.2.2 กรณีการรวมรัฐ
2.1.4.2.3 กรณีการแยกดินแดนบางส่วนของรัฐหนึ่ง
ออกเป็นอีกรัฐหนึ่ง
2.1.4.2.4 กรณีการยุบรัฐ
2.2 องค์การระหว่างประเทศ
2.3 ปัจเจกชน
กฎหมายระหว่างประเทศ (
สารบัญ
)
บทที่ 5 การได้มาซึ่งดินแดนของรัฐ
1. การได้มาซึ่งดินแดนโดยการใช้อํา นาจอธิปไตยเหนือดินแดน
1.1 การได้มาซึ่งดินแดนโดยการครอบครอง
1.2 การได้มาซึ่งดินแดนโดยการครอบครองปรปักษ์
หรือการได้มาโดยอายุความ
2. การได้มาซึ่งดินแดนโดยการค้นพบ
3. การได้มาซึ่งดินแดนเนื่องจากการเพิ่มพูนหรือการงอกเงยขึ้นของแผ่นดิน
4. การได้มาซึ่งดินแดนจากการยกให้จากรัฐอื่นและโดยสนธิสัญญา
5. การได้มาซึ่งดินแดนโดยการใช้กํา ลัง – การรบชนะ
6. การได้มาซึ่งดินแดนของรัฐโดยใช้หลักการยอมรับโดยนิ่งเฉยหรือการ
ยอมรับโดยไม่มีข้อโต้แย้งและการถูกตัดบทหรือหลักกฎหมายปิดปาก
7. การได้มาซึ่งดินแดนของรัฐโดยคํา ตัดสินของศาล
8. การได้มาซึ่งดินแดนของรัฐตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เรียกว่า
Uti Possidetis
9. การได้มาซึ่งดินแดนของรัฐโดยหลักการกํา หนดใจตนเอง
บทที่ 6 เขตอํา นาจรัฐ
1. หลักทั่วไปของเขตอํา นาจรัฐ
2. มูลฐานของเขตอํา นาจรัฐ
2.1 เขตอํา นาจรัฐเหนือดินแดน
2.1.1 เขตอํา นาจรัฐเหนือดินแดนตามภาวะวิสัย
2.1.2 เขตอํา นาจรัฐเหนือดินแดนตามอัตวิสัย
2.2 เขตอํา นาจรัฐตามหลักสัญชาติ
2.2.1 การใช้เขตอํา นาจรัฐตามหลักสัญชาติ : กรณีบุคคลธรรมดา
2.2.2 การใช้เขตอํา นาจรัฐตามหลักสัญชาติ : กรณีนิติบุคคล
ศาสตราจารย์ จันตรี สินศุภฤกษ์
2.2.3 การใช้เขตอํา นาจรัฐตามหลักสัญชาติ :
กรณีของเรือ อากาศยานหรืออวกาศยาน
2.3 เขตอํา นาจรัฐตามหลักป้องกัน
2.4 เขตอํา นาจรัฐตามหลักผู้ถูกกระทํา
2.5 เขตอํา นาจรัฐตามหลักสากล
บทที่ 7 กฎหมายสนธิสัญญา
1. วิวัฒนาการและหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายสนธิสัญญา
1.1 หลักความยินยอมโดยอิสระ
1.2 หลักสัญญาต้องเป็นสัญญา
1.3 หลักสุจริต
2. ขอบเขตของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969
3. คํา นิยามของสนธิสัญญาตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วย
กฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969
3.1 สนธิสัญญาต้องเป็นความตกลงระหว่างประเทศ
3.2 สนธิสัญญาต้องกระทํา โดยคู่ภาคีซึ่งเป็นรัฐ
3.3 สนธิสัญญาเป็นความตกลงระหว่างประเทศที่เป็นลายลักษณ์อักษร
3.4 สนธิสัญญาที่กระทํา ขึ้นต้องอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายระหว่าง
ประเทศ
3.5 สนธิสัญญาอาจรวมอยู่ในตราสารฉบับเดียวหรือตราสารที่เกี่ยวข้อง
สองฉบับหรือมากกว่าและไม่ว่าจะเรียกชื่อเฉพาะว่าอย่างไรก็ตาม
4. ประเภทของสนธิสัญญา
4.1 การจัดประเภทโดยถือหลักภาคีของสนธิสัญญา
4.2 การจัดประเภทโดยถือหลักแบบของสนธิสัญญา
4.3 การจัดประเภทโดยถือหลักวัตถุประสงค์ของสนธิสัญญากฎหมายระหว่างประเทศ (
สารบัญ
) q xiii
4.4 การจัดประเภทโดยถือหลักสารัตถะของสนธิสัญญา
5. คํา ศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกสนธิสัญญา
6. กระบวนการทํา สนธิสัญญา
6.1 การเจรจาและผู้มีอํา นาจในการทํา สนธิสัญญา
6.2 การรับเอาตัวบทแห่งสนธิสัญญา
6.3 การรับรองความถูกต้องแท้จริงของตัวบทสนธิสัญญา
6.4 การแสดงความยินยอมเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญา
6.4.1 การแสดงความยินยอมเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญา
โดยการลงนาม
6.4.2 การแสดงความยินยอมเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญา
โดยการแลกเปลี่ยนตราสารที่ก่อให้เกิดสนธิสัญญา
6.4.3 การแสดงความยินยอมเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญา
โดยการให้สัตยาบัน การยอมรับหรือการให้ความเห็นชอบ
6.4.4 การแสดงความยินยอมเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญา
โดยการภาคยานุวัติ
6.5 ข้อสงวนในสนธิสัญญา
6.5.1 การตั้งข้อสงวนในสนธิสัญญา
6.5.2 การยอมรับและการคัดค้านข้อสงวน
6.5.3 ผลทางกฎหมายของข้อสงวนและของการคัดค้านข้อสงวน
6.5.4 การถอนข้อสงวนและการถอนการคัดค้านข้อสงวน
6.5.5 กระบวนการทางกฎหมายเกี่ยวกับการตั้งข้อสงวน
6.6 การมีผลใช้บังคับของสนธิสัญญา
6.7 การปฏิบัติตาม การปรับใช้และการตีความสนธิสัญญา
6.7.1 การปฏิบัติตามสนธิสัญญาศาสตราจารย์ จันตรี สินศุภฤกษ์
6.7.2 การปรับใช้สนธิสัญญา
6.7.3 การตีความสนธิสัญญา
6.7.3.1 หลักทั่วไปในการตีความสนธิสัญญา
(1) แนวคิดตามหลักการตีความสนธิสัญญาตาม
ตัวบทหรือตามตัวอักษร
(2) หลักการตีความสนธิสัญญาตามเจตนาของ
ภาคีแห่งสนธิสัญญา
(3) หลักการตีความสนธิสัญญาตามวัตถุประสงค์
และความมุ่งหมายของสนธิสัญญา
(4) หลักการตีความสนธิสัญญาตามหลัก
ความมีประสิทธิผล
6.7.3.2 วิธีการเสริมในตีความสนธิสัญญา
6.8 สนธิสัญญาและรัฐที่สาม
6.9 การแก้ไขเพิ่มเติมและแก้ไขเปลี่ยนแปลงสนธิสัญญา
6.10 ความไม่สมบูรณ์ การสิ้นสุดหรือยกเลิกและการระงับการใช้บังคับ
สนธิสัญญา
6.10.1 ความไม่สมบูรณ์ของสนธิสัญญา
6.10.1.1 การฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งกฎหมายภายในของรัฐ
เกี่ยวกับเรื่องความสามารถของผู้แทนรัฐในการให้
ความยินยอมของรัฐเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญา
6.10.1.2 ข้อจํา กัดอํา นาจของผู้แทนรัฐในการ
ให้ความยินยอมเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญา
6.10.1.3 ความผิดพลาดหรือความสํา คัญผิด
6.10.1.4 กลฉ้อฉล
6.10.1.5 การประพฤติมิชอบของผู้แทนของรัฐ
6.10.1.6 การข่มขู่หรือบังคับผู้แทนของรัฐกฎหมายระหว่างประเทศ (
สารบัญ
) q xv
6.10.1.7 การข่มขู่หรือบีบบังคับรัฐโดยการคุกคามหรือ
การใช้กํา ลัง
6.10.1.8 สนธิสัญญาซึ่งขัดต่อ Jus Cogens
6.10.2 การยกเลิกหรือการสิ้นสุดและการระงับการใช้บังคับ
ของสนธิสัญญา
(1) การระงับการใช้บังคับสนธิสัญญาโดยบทบัญญัติ
แห่งสนธิสัญญาหรือโดยความยินยอมของรัฐภาคีทั้งปวง
(2) การระงับการใช้บังคับสนธิสัญญาพหุภาคี
โดยความตกลงระหว่างรัฐภาคีบางรัฐ
(3) การสิ้นสุดแห่งสนธิสัญญาหรือการระงับการใช้บังคับ
สนธิสัญญาที่แสดงนัยโดยการทํา สนธิสัญญาอีกฉบับหนึ่ง
ขึ้นภายหลัง
(4) การสิ้นสุดแห่งสนธิสัญญาหรือการระงับการใช้บังคับ
สนธิสัญญาอันเป็นผลมาจากการละเมิดสนธิสัญญา
(5) การพ้นวิสัยในการปฏิบัติตามสนธิสัญญา
(6) การเปลี่ยนแปลงไปอย่างสํา คัญยิ่งของสถานการณ์
(7) การสิ้นสุดของสนธิสัญญาหรือการถอนตัวจากสนธิ
สัญญาตามบทบัญญัติของสนธิสัญญานั้นหรือ
โดยความยินยอมของรัฐภาคีแห่งสนธิสัญญา
(8) การเกิดขึ้นใหม่ของหลักเกณฑ์แห่งกฎหมาย
ระหว่างประเทศทั่วไปที่เป็นกฎหมายเด็ดขาด
6.10.3 วิธีการดํา เนินการเกี่ยวกับความไม่สมบูรณ์, การสิ้นสุดหรือ
ยกเลิก, การถอนตัวหรือการระงับการใช้บังคับสนธิสัญญา
6.10.4 ผลของความไม่สมบูรณ์ การสิ้นสุดหรือการระงับการใช้
บังคับสนธิสัญญา
6.10.4.1 ผลของความไม่สมบูรณ์ของสนธิสัญญา
6.10.4.2 ผลของการสิ้นสุดหรือยกเลิกสนธิสัญญาศาสตราจารย์ จันตรี สินศุภฤกษ์
6.10.4.3 ผลของการระงับการใช้บังคับสนธิสัญญา
6.10.4.4 ผลของสนธิสัญญาซึ่งตกเป็นโมฆะเพราะขัดต่อ
กฎหมายเด็ดขาด
บทที่ 8 กฎหมายทะเล
1. วิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยทะเล
2. ที่มาของกฎหมายทะเล
2.1 อนุสัญญาเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958
2.2 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1989
2.3 กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ สนธิสัญญาทวิภาคีและ
สนธิสัญญาพหุภาคีอื่นๆ
3. เขตทางทะเล
3.1 น่านน้ํา ภายใน
3.1.1 ความหมายของน่านน้ํา ภายใน
3.1.2 สถานภาพทางกฎหมายของน่านน้ํา ภายใน
3.2 ทะเลอาณาเขต
3.2.1 ข้อกํา หนดในทะเลอาณาเขต
3.2.2 สิทธิของรัฐอื่นในทะเลอาณาเขต :
การใช้สิทธิการผ่านโดยสุจริต
3.2.3 สิทธิของรัฐชายฝั่ง
3.2.4 หน้าที่ของเรือต่างชาติขณะที่ใช้สิทธิการผ่านโดยสุจริต
3.2.5 หน้าที่ของรัฐชายฝั่ง
3.2.6 เขตอํา นาจของรัฐชายฝั่งเหนือการกระทํา บนเรือต่างชาติ
ที่เป็นเรือพาณิชย์หรือเรือของรัฐบาลที่ใช้เพื่อการพาณิชย์
3.2.7 การผ่านโดยสุจริตในทะเลอาณาเขต : หลักเกณฑ์ทีใช้กับ
เรือรบและเรืออื่นของรัฐบาลที่มิได้ใช้เพื่อการพาณิชย์กฎหมายระหว่างประเทศ (
สารบัญ
) q xvii
3.2.8 ทางปฏิบัติของรัฐเกี่ยวกับการผ่านในทะเลอาญาเขต
3.3 เขตต่อเนื่อง
3.3.1 ขอบเขตของเขตต่อเนื่อง
3.3.2 เขตอํา นาจของรัฐชายฝั่งเหนือเขตต่อเนื่อง
3.3.3 การกํา หนดความกว้างของเขตต่อเนื่องของประเทศไทย
3.4 เขตเศรษฐกิจจํา เพาะ
3.4.1 จุดกํา เนิดและพัฒนาการของแนวความคิด
เรื่องเขตเศรษฐกิจจํา เพาะ
3.4.2 ความกว้างของเขตเศรษฐกิจจํา เพาะ
3.4.3 ลักษณะทางกฎหมายชองเขตเศรษฐกิจจํา เพาะ
3.4.4 สิทธิและหน้าที่ของรัฐอื่นในเขตเศรษฐกิจจํา เพาะ
3.4.5 การกํา หนดขอบเขตของเขตเศรษฐกิจจํา เพาะระหว่างรัฐที่มี
ชายฝั่งทะเลตรงข้ามหรือประชิดกัน
3.4.6 การบังคับใช้กฎหมายและข้อบังคับของรัฐชายฝั่งในเขต
เศรษฐกิจจํา เพาะ
3.5 ไหล่ทวีป
3.5.1 ความหมาย ลักษณะและความสํา คัญของไหล่ทวีป
3.5.2 แนวความคิดและวิวัฒนาการของไหล่ทวีป
3.5.3 สิทธิของรัฐชายฝั่งเหนือไหล่ทวีป
3.5.4 สถานภาพทางกฎหมายของน่านน้ํา และห้วงอากาศ
เหนือไหล่ทวีปและสิทธิและเสรีภาพของรัฐอื่น
3.5.5 การกํา หนดขอบเขตของไหล่ทวีป
3.5.5.1 การกํา หนดขอบเขตของไหล่ทวีป
ที่ทอดยาวออกไปสู่ทะเลของรัฐชายฝั่งศาสตราจารย์ จันตรี สินศุภฤกษ์
3.5.5.2 การกํา หนดขอบเขตของไหล่ทวีป
ระหว่างรัฐที่มีฝั่งทะเลตรงข้ามหรือประชิดกัน
3.6 ช่องแคบระหว่างประเทศ
3.7 รัฐหมู่เกาะ
3.7.1 ความหมายของรัฐหมู่เกาะ
3.7.2 เส้นฐานหมู่เกาะ
3.7.3 สถานภาพทางกฎหมายของน่านน้ํา หมู่เกาะ ห้วงอากาศ
เหนือน่านน้ํา หมู่เกาะและพื้นดินท้องทะเลและดินใต้ผิวดิน
ของน่านน้ํา นั้น
3.7.4 สิทธิการผ่านน่านน้ํา หมู่เกาะ
3.7.4.1 สิทธิการผ่านช่องทางทะเลหมู่เกาะ
3.7.4.2 สิทธิการผ่านโดยสุจริต
3.8 ทะเลหลวง
3.8.1 บทบัญญัติทั่วไป
3.8.2 การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง
3.9 บริเวณพื้นที่
4. ลักษณะภูมิสัณฐานต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในทะเล
5. การระงับข้อพิพาทภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
ค.ศ. 1982
5.1 หลักการและโครงสร้างพื้นฐานของกระบวนการระงับข้อพิพาทตาม
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982
5.2 วิธีดํา เนินการภาคบังคับซึ่งมีการวินิจฉัยที่มีผลบังคับ
บทที่ 9 กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตและกงสุล
1. กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต
1.1 วิวัฒนาการของกฎหมายการทูต
กฎหมายระหว่างประเทศ (
สารบัญ
) q xix
1.2 การแบ่งประเภทคณะผู้แทนทางการทูต
1.3 การเข้าดํา รงตํา แหน่งของผู้แทนทางการทูต
1.4 การสิ้นสุดของการดํา รงตํา แหน่งผู้แทนทางการทูต
1.5 หน้าที่ของผู้แทนทางการทูต
1.6 เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของผู้แทนทางการทูต
1.6.1 ความหมายของเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต
1.6.2 ทฤษฎีในเรื่องเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต
1.6.3 ขอบเขตของเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต
1.7 เสรีภาพในการสื่อสารคมนาคม
2. กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล
2.1 วิวัฒนาการของกฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล
2.2 การแบ่งประเภทของกงสุล
2.3 สถานที่ทํา การกงสุล
2.4 การแต่งตั้งและการสิ้นสุดของการดํา รงตํา แหน่งหน้าที่ทางกงสุล
2.5 เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุล
2.5.1 เอกสิทธิ์และความคุ้มกันเกี่ยวกับสถานที่ทางกงสุล
2.5.2 เอกสิทธิ์และความคุ้มกันเกี่ยวกับบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่
ฝ่ายกงสุล
2.6 การเริ่มต้นและการสิ้นสุดของเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุล
2.7 เสรีภาพในการสื่อสาร
2.8 การสื่อสารและการติดต่อกับคนชาติของรัฐผู้ส่ง
2.9 หน้าที่กงสุล
ศาสตราจารย์ จันตรี สินศุภฤกษ์
บทที่ 10 ความคุ้มกันของรัฐ
1. แนวความคิดและหลักเกณฑ์เรื่องความคุ้มกันของรัฐ
2. วิวัฒนาการของแนวความคิดและหลักเกณฑ์เรื่องความคุ้มกันของรัฐ
3. หลักความคุ้มกันของรัฐตามกฎหมายภายในรัฐต่าง ๆ
4. หลักความคุ้มกันของรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศ :
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยความคุ้มกันของรัฐและทรัพย์สิน
ของรัฐจากเขตอํา นาจศาล ค.ศ. 2004
4.1 ขอบเขตของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยความคุ้มกัน
ของรัฐและทรัพย์สินของรัฐจากเขตอํา นาจศาล ค.ศ. 2004
4.2 หลักเกณฑ์ทั่วไปเกี่ยวกับความคุ้มกันของรัฐตามอนุสัญญา
สหประชาชาติว่าด้วยความคุ้มกันของรัฐและทรัพย์สินของ
รัฐจากเขตอํา นาจศาล ค.ศ. 2004
5. หลักความคุ้มกันของรัฐกับการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ
บทที่ 11 ความรับผิดชอบของรัฐ
ส่วนที่ 1 ความรับผิดชอบของรัฐอันเกิดจากการกระทํา ความผิดในทาง
ระหว่างประเทศ
1. การกระทํา ความผิดของรัฐในทางระหว่างประเทศ
1.1 หลักทั่วไปว่าด้วยการกระทํา ความผิดของรัฐในทางระหว่างประเทศ
1.2 การกระทํา หรือการละเว้นการกระทํา ที่ถือว่าเป็นการกระทําของรัฐ
1.2.1 การกระทํา หรือการละเว้นการกระทํา ขององค์กรของรัฐ
1.2.2 การกระทํา หรือการละเว้นการกระทํา ของเอกชน
1.2.3 การกระทํา หรือการละเว้นการกระทํา ของขบวนการ
ต่อต้านอํา นาจผู้ปกครองรัฐหรือพวกกบฏ
1.2.4 การกระทํา หรือการละเว้นการกระทํา ขององค์กรของ
รัฐอื่น
1.3 การละเมิดพันธกรณีระหว่างประเทศของรัฐ
กฎหมายระหว่างประเทศ (
สารบัญ
)
1.4 พฤติการณ์หรือสภาวการณ์ซึ่งถือว่าการกระทํา ของรัฐไม่เป็น
ความผิดในทางระหว่างประเทศ
1.4.1 ความยินยอม
1.4.2 มาตรการตอบโต้ในกรณีของการกระทํา ความผิด
ในทางระหว่างประเทศ
1.4.3 การป้องกันตนเอง
1.4.4 เหตุสุดวิสัย
1.4.5 ทุกขภัย
1.4.6 ความจํา เป็น
2. ผลทางกฎหมายที่ตามมาจากการกระทํา ความผิดในทางระหว่างประเทศ
2.1 การเยียวยาหรือการชดใช้ค่าเสียหาย
(1) การชดใช้ค่าเสียหายให้กลับคืนสู่สภาพเดิมอย่างสมบูรณ์
(2) การชดใช้ค่าเสียหายโดยการทํา ให้เกิดความพึงพอใจ
แก่รัฐที่ได้รับความเสียหาย
(3) การชดใช้ค่าเสียหายเป็นจํา นวนเงิน
2.2 รัฐที่ต้องรับผิดชอบนั้นยังคงมีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติตาม
พันธกรณีที่ตนได้ทํา การละเมิดอยู่ต่อไป
2.3 รัฐที่ต้องรับผิดชอบต่อการกระทํา ความผิดในทางระหว่าง
ประเทศนั้นยังคงมีหน้าที่ที่ต้องยุติการกระทํา ความผิดนั้น
และต้องให้ความเชื่อมั่นและหลักประกันว่าจะ
ไม่กระทํา ความผิดนั้นซ้ํา อีก
2.4 ผลโดยเฉพาะของความรับผิดชอบของรัฐ
3. การดํา เนินการให้รัฐต้องรับผิดชอบในทางระหว่างประเทศ
3.1 การเรียกร้องให้รัฐต้องรับผิดชอบ
3.1.1 รัฐผู้มีสิทธิยกความรับผิดชอบของรัฐขึ้นกล่าวอ้าง
3.1.2 วิธีการหรือรูปแบบในการเรียกร้องให้รัฐต้องรับผิดชอบ
ศาสตราจารย์ จันตรี สินศุภฤกษ์
3.1.3 มาตรการและเงื่อนไขการเรียกร้องให้รับผิดชอบ
ระหว่างประเทศในกรณีที่เอกชนซึ่งเป็นคนชาติของ
รัฐได้รับความเสียหาย
3.1.4 กรณีที่รัฐเสียสิทธิในการเรียกร้องให้รัฐอื่นต้อง
รับผิดชอบในทางระหว่างประเทศ
ส่วนที่ 2 การปฏิบัติต่อคนต่างด้าว
1. การปฏิบัติต่อคนต่างด้าวอย่างไม่เหมาะสมที่ก่อให้เกิดความรับผิดชอบ
2. มาตรฐานการปฏิบัติต่อคนต่างด้าว
3. มาตรการและเงื่อนไขการเรียกร้องให้รับผิดชอบระหว่างประเทศในกรณี
ที่เอกชนซึ่งเป็นคนชาติของรัฐได้รับความเสียหาย
3.1 ผู้ได้รับความเสียหายที่เป็นเอกชนจะต้องมีความสัมพันธ์ทาง
กฎหมายกับรัฐที่จะดํา เนินมาตรการคุ้มครองทางการทูต
(1) กรณีบุคคลธรรมดา
(2) กรณีนิติบุคคล
3.2 หลักการหมดหนทางการเยียวยาที่จะได้มาซึ่งข้อเรียกร้องตาม
กระบวนวิธีที่กํา หนดไว้ตามกฎหมายภายใน
บทที่ 12 การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี
1. ข้อพิจารณาเบื้องต้น : ความหมายและลักษณะของ “ข้อพิพาท” พันธกรณีทั่วไป
ในการระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธีและวิธีการในการระงับข้อพิพาทอย่างสันติ
2. การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศทางการเมืองหรือทางการทูต
2.1 การเจรจา
2.2 การจัดการเจรจา
2.3 การไกล่เกลี่ย
2.4 การสืบสวนหาข้อเท็จจริง
2.5 การประนีประนอม
กฎหมายระหว่างประเทศ (
สารบัญ
) q xxiii
3. การระงับข้อพิพาททางการศาล
3.1 การระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ
3.1.1 ความหมาย หลักพื้นฐานและวิวัฒนาการของการ
อนุญาโตตุลาการ
3.1.2 รูปแบบของอนุญาโตตุลาการ
3.1.3 การคัดเลือกและการแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการ
3.1.4 ขอบเขตอํา นาจของอนุญาโตตุลาการ
3.1.5 หลักเกณฑ์ที่นํา มาใช้ในการตัดสินคดี
3.1.6 ผลของคํา ชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
3.2 การระงับข้อพิพาทโดยศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
3.2.1 องค์ประกอบของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
3.2.2 เขตอํา นาจของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
3.2.2.1 เขตอํา นาจของศาลเหนือคดีหรือข้อพิพาทระหว่างรัฐ
3.2.2.2 เขตอํา นาจในการให้ความคิดเห็นเชิงปรึกษา
3.2.3 หลักเกณฑ์เกี่ยวกับกระบวนพิจารณาในศาลยุติธรรม
ระหว่างประเทศ
3.2.3.1 การคัดค้านเบื้องต้น
3.2.3.2 การเข้าไปในคดีของรัฐฝ่ายที่สาม
3.2.3.3 การไม่มาปรากฏตัวต่อหน้าศาล
3.2.3.4 มาตรการคุ้มครองชั่วคราว
3.2.3.5 การขอให้ทบทวนคํา พิพากษา
3.2.3.6 การตีความคํา พิพากษา
3.2.4 ผลของคํา พิพากษาและความคิดเห็นเชิงปรึกษาของศาล
ยุติธรรมระหว่างประเทศ
4. การระงับข้อพิพาทโดยองค์การระหว่างประเทศ
บทที่ 13 การใช้กํา ลัง
1. วิวัฒนาการและพัฒนาการในทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับหลักกฎหมาย
ระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้กํา ลังฝ่ายเดียว
2. การใช้กํา ลังฝ่ายเดียวของรัฐ
2.1 หลักทั่วไปว่าด้วยการห้ามการใช้กํา ลังฝ่ายเดียวของรัฐในความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ
2.2 การใช้สิทธิป้องกันตนเอง
2.3 การใช้กํา ลังในกรณีอื่น ๆ
2.3.1 Reprisal
2.3.2 การใช้กํา ลังและการพิทักษ์คนชาติในต่างประเทศ
2.3.3 การใช้กํา ลังและการเข้าแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม
3. การใช้กํา ลังโดยองค์การระหว่างประเทศ :
การใช้กํา ลังร่วมกันหรือความมั่นคงร่วมกัน
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
– United Nations Security Council Resolution 1970 (2011)
– United Nations Security Council Resolution 1973 (2011)

ข้อมูลเพิ่มเติม

รูปแบบการจัดส่ง