กทม. เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 6 ธ.ค. -13 ธ.ค. 2565 รวม 110 อัตรา,

กทม. เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 6 ธ.ค. -13 ธ.ค. 2565 รวม 110 อัตรา,

กทม. เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 6 ธ.ค. -13 ธ.ค. 2565 รวม 110 อัตรา,

กทม.

ลิงค์: https://ehenx.com/17952/ หรือ
ตำแหน่ง: ครู
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 15,050-15,800
อัตราว่าง: 110
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 6 ธ.ค. – 13 ธ.ค. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กทม. เปิดรับสมัคร

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕

ด้วยกรุงเทพมหานคร จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ-เป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๙ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร-และบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้ให้ความเห็นชอบ ในหลักการและแนวทางปฏิบัติตามหนังสือสำนักงาน ก.ก. ด่วนมาก ที, กท ๐๓๐๒/๑๒๓๐ ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ให้สำนักการศึกษารับผิดชอบในการจัดการสอบแช่งขันให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา-กรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย ตามมติ ก.ก. ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๖ จึงประกาศ รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา-กรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕ ดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

ครูผู้ช่วย

อัตราว่าง : 110 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15050-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


  1. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา แนะแนว
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาแนะแนว
    จำนวน ๓๐ อัตรา 
  2. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา การศึกษาพิเศษ
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาการศึกษาพิเศษ
    จำนวน ๒๐ อัตรา 
  3. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา คณิตศาสตร์
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์
    จำนวน ๕ อัตรา 
  4. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา อนุบาลศึกษา
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาอนุบาลศึกษา
    จำนวน ๑๐ อัตรา 
  5. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา ภาษาไทย
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาภาษาไทย
    จำนวน ๕ อัตรา 
  6. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา ภาษาอังกฤษ
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ
    จำนวน ๕ อัตรา 
  7. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์ทั่วไป
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
    จำนวน ๕ อัตรา 
  8. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา ประถมศึกษา
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาประถมศึกษา
    จำนวน ๕ อัตรา 
  9. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา พลศึกษา
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาพลศึกษา
    จำนวน ๕ อัตรา 
  10. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา ศิลปศึกษา-วาดเขียน
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาศิลปศึกษา –
    จำนวน ๓ อัตรา 
  11. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา บรรณารักษ์
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาบรรณารักษ์
    จำนวน ๒ อัตรา 
  12. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา คหกรรม
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาคหกรรม
    จำนวน ๓ อัตรา 
  13. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา นาฏศึลป็
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชานาฎศิลป็
    จำนวน ๒ อัตรา 
  14. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา เกษตรกรรม
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาเกษตรกรรม
    จำนวน ๒ อัตรา 
  15. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา วัดผล
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาวัดผล
    จำนวน ๒ อัตรา 
  16. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา ฟิสิกส์
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาฟิสิกส์
    จำนวน ๒ อัตรา 
  17. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา เคมี
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาเคมี
    จำนวน ๒ อัตรา 
  18. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชา ชีววิทยา
    ปริญญาตรีกลุ่มวิชาชีววิทยา
    จำนวน ๒ อัตรา
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

ครูผู้ช่วย

๑.๑ ตำแหน่งครูผู้ช่วย สำหรับผู้มีวุฒิปริญญาตรี หลักสูตร ๔ ปี ให่ใต้รับอัตราเงินเดือน ขั้น ๑๕,๐๕๐ บาท
๑.๒ตำแหน่งครูผู้ช่วย สำหรับผู้มีวุฒิปริญญาตรี หลักสูตร ๕ ปี ให้ได้รับอัตราเงินเดือน ขั้น ๑๕,๘๐๐ บาท
๑.๓ ตำแหน่งครูผู้ช่วย สำหรับผู้มีวุฒิปริญญาตรี หลักสูตร ๔ ปี และประกาศนียบัตรบัณฑิต ที่มีหลักสูตรการศึกษาไม่น้อยกว่า ๑ ปี ต่อจากวุฒิปริญญาตรี ให้ได้รับอัตราเงินเดือน ขั้น ๑๕,๘๐๐ บาท
รายละเอียดตำแหน่งและคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่เปิดรับสมัครสอบดังกล่าว ปรากฏตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้


๑. กลุ่มวิชาแนะแนว 
๑.๑ จิตวิทยาการศึกษา 
๑.๒ การให้คำปรึกษาและการแนะแนว
๑.๓ การแนะแนว หรือการแนะแนวการศึกษา 
๑.๔ จิตวิทยาและการแนะแนว
๑.๕ จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว 
๑.๖ การแนะแนวและการให้คำปรึกษา
๑.๗ จิตวิทยาการให้บริการปรึกษาและแนะแนว 
๑.๘ จิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว
๑.๙ จิตวิทยา 
๑.๑๐ จิตวิทยาโรงเรียน
๑.๑๑ จิตวิทยาสังคม 
๑.๑๒ จิตวิทยาการทดลอง
๑.๑๓ วิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๑.  

๒. กลุ่มวิชาการศึกษาพิเศษ
๒.๑ การศึกษาพิเศษหรือการสอนเด็ก 
๒.๒ การศึกษาพิเศษ พิเศษหรือหูหนวกศึกษา (ความบกพร่องทางสติปัญญา)
๒.๓ การศึกษาพิเศษ 
๒.๔ การศึกษาพิเศษ(ความบกพร่องทางการเห็น) (ความบกพร่องทางการได้ยิน)
๒.๕ การศึกษาพิเศษ 
๒.๖ การศึกษาพิเศษ (การสอนเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน) 
๒.๗ การศึกษาพิเศษ – ภาษาไทย
๒.๘ การศึกษา (การศึกษาพิเศษ) 
๒.๙ การศึกษาพิเศษและภาษาอังกฤษ
๒.๑๐ วิชาเอกไนแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๒.๑ – ๒.๙
ครูผู้ช่วย

๓. กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์
๓.๑ คณิตศาสตร์ 
๓.๒ การสอนคณิตศาสตร์
๓.๓ คณิตศาสตร์ศึกษา 
๓.๔ คณิตศาสตร์ประยุกต์
๓.๔ การศึกษาคณิตศาสตร์ 
๓.๖ การสอนคณิตศาสตร์ระดบมิธยมศึกษา ์
๓.๗ สถิติ 
๓.๘ สถิติคณิตศาสตร
๓.๙ สถิติศาสตร์ 
๓.๑๐ สถิติประยุกต์
๓.๑๑ คณิตศาสตร์ – เคมี 
๓.๑๒ คณิตศาสตร์ – ฟิสิกส์
๓. ๑๓ คณิตศาสตร์ – ชีวะ 
๓.๑๔ คณิตศาสตร์ – วิทยาศาสตร์ ์
๓.๑๕ คณิตศาสตร์เชิงวิทยาการ 
๓.๑๖ คณิตศาสตร์เชิงคอมพิวเตอร
๓.๑๗ คณิตศาสตร์และเศรษฐมิติ 
๓.๑๘ โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์
๓.๑๙ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 
๓.๒๐ วิชาเอกคณิตศาสตร์
๓.๒๑ วิชาเอกในแบบเอกค่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งค่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๓.๑-๑.>.๒๐
ครูผู้ช่วย

๔. กลุ่มวิชาอนุบาลศึกษา
๔.๑ การอนุบาล 
๔.๒ อนุบาลศึกษา
๔.๓ การศึกษาปฐมวัย 
๔.๔ ปฐมวัยศึกษา
๔๕ การปฐมวัยศึกษา 
๔.๖ การปฐมวัย
๔.๗ ปฐมวัย 
๔.๘ อนุบาล
๔.๙ วิชาเอกไนแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อลาชาวิชาเอกข้อ ๔.๑ –
ครูผู้ช่วย

๕. กลุ่มวิชาภาษาไทย  
๕.๑ ภาษาไทย
๕.๒ การสอนภาษาไทย 
๕.๓ ภาษาและวัฒนธรรมไทย 
๕๔ ภาษาและวรรณคดีไทย
๕.๕ วรรณคดีไทย 
๕.๖ การสอนภาษาไทยในระดับมัธยฺมฺศึกน่า
๕.๗ วิธีการสอนภาษาไทย 
๕.๘ ภาษาไทยและการสื่อสาร
๕.๙ ไทยคดีศึกษา 
๕.๑๐ ไทยศึกษา
๕.๑๑ วิธีสอนภาษาไทย 
๕.ด๖ การสอนภาษาไทย 
๕.๑๓ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 
๕.๑๔ ภาษาศาสตร์ภาษาไทย 
๕.๑๕ ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย 
๕.๑๖ วิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๕.๑ – ๕.๑๕

๖ . กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 
๖.๑ ภาษาอังกฤษ 
๖.๒ การสอนภาษาอังกฤษ 
๖.๓ วิธีการสอนภาษาอังกฤษ 
๖.๔ วรรณคดีภาษาอังกฤษ 
๖.๕ ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ 
๖.๖ ภาษาอังกฤษ่และการสื่อสารภาษาอังกฤษ 
๖.๗ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 
๖.๘ ภาษาอังกฤษขั้นสูง 
๖.๙ ภาษาอังกฤษธุรกิจ 
๖.๑๐ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารนานาชาติ 
๖.๑๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล 
๖.๑๒ ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารธุรกิจ 
๖.๑๓ ภาษาอังกฤษการท่องเที่ยว 
๖.๑๔ การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ 
๖.๑๕ การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ 
๖.๑๖ การสอนภาษาอังกฤษให้ผู้มีพึ้นฐานภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษ 
๖.๑๗ การสอนวิชาภาษาปัจจุบันต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) 
๖.๑๘ ภาษาอังกฤษเฉพาะกิจ 
๖.๑๙ การสอนภาษาอังกฤษในรูปแบบภาษาต่างประเทศ 
๖.๒๐ วิชาเอกในแบบเอกค่ที่มืวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๖.๑ – ๖.๑๙

๗. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป 
๗.๑ วิทยาศาสตร์ 
๗.๒ วิทยาศาสตร์ทั่วไป 
๗.๓ การศึกษาวิทยาศาสตร์ 
๗.๔ วิทยาศาสตร์ชีวภาพกายภาพ 
๗.๕ วิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ 
๗.๖ การสอนวิทยาศาสตร์ 
๗.๗ การสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา 
๗.๘ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 
๗.๙ การสอนวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 
๗.๑๐ วิทยาศาสตร์กายภาพ 
๗.๑๑ การสอนวิทยาศาสตร์กายภาพ 
๗.๑๒ วิทยาศาสตร์ศึกษา 
๗.๑๓ วิชาเอกในแบบเอกค่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๗.๑ – ๗.๑๒

๘. กลุ่มวิชาประถมศึกษา 
๘.๑ ประถมศึกษา 
๘.๒ การประถมศึกษา 
๘.๓ การสอนประถมศึกษา 
๘.๔ สาขาวิชาการประถมศึกษา 
๘.๕ วิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๘.๑ – ๘.๔

๙. กลุ่มวิชาพลศึกษา 
๙.๑ พลศึกษาหรือการสอนพลศึกษา 
๙.๒ ศึกษาศาสตร์-พลศึกษา 
๙.๓ วิทยาศาสตร์การกีฬา 
๙.๔ การฝึกและการจัดการกีฬา 
๙.๕ สุขศึกษาและพลศึกษา 
๙.๖ พลศึกษาและวิทยาศาสตร์การกีฬา 
๙.๗ สันทนาการ 
๙.๘ พลศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ 
๙.๙ พลานามัย 
๙.๑๐ พลศึกษาและสุขศึกษา 
๙.๑๑ การสอนสุขศึกษาและพลศึกษา 
๙.๑๒ พลศึกษาและวิทยาศาสตร์การออกกำลังกาย 
๙.๑๓ วิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง ห่รีอวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๙.๑ – ๙๑๒

๑๐. กลุ่มวิชาศึลปศึกษา-วาดเขียน 
๑๐.๑ ศิลปะ 
๑๐.๒ ศิลปะไทย
๑๐.๓ ศิลปศึกษา 
๑๐.๔ ศิลปกรรม 
๑๐.๕ ทัศนศิลป้ 
๑๐.๖ ศิลปกรรมศึกษา 
๑๐.๗ ศิลปะภาพพิมพ์ 
๑๐.๘ ประติมากรรม
๑๐.๙ อุตสาหกรรมศิลป้ 
๑๐.๑๐ สถาปัตยกรรมไทย 
๑๐.๑๑ประยุกต์ศิลปศึกษา 
๑๐.๑๒ ออกแบบศิลปะประยุกต์ 
๑๐.๑๓ ศิลปะการช่าง 
๑๐.๑๔ หัตถศิลป๋ 
๑๐.๑๕มัณฑศิลป็ 
๑๐.๑๖ ภาพพิมพ์ 
๑๐.๑๗จิตรกรรม 
๑๐.๑๘ ศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป้) 
๑๐.๑๙วิชาเอกในแบบเอกคู่ท่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๑๐.๑ – ๑๐.๑๘

๑๑. กลุ่มวิชาบรรณารักษ์ 
๑๑.๑ บรรณารักษ์ 
๑๑.๒ บรรณารักษศาสตร์ 
๑๑.๓ บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ 
๑๑.๔ บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ 
๑๑.๕ ท้องสมุดโรงเรียน 
๑๑.๖ สารนิเทศศาสตร์ 
๑๑.๗ วิชาเอกในแบบเอกคู่ท่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๑๑.๑ – ๑๑.๖

๑๒. กลุ่มวิชาคหกรรม 
๑๒.๑ คหกรรม 
๑๒.๒ คหกรรมศาสตร์ 
๑๒.๓ คหกรรมศาสตร์ศึกษา 
๑๒.๔ คหกรรมศาสตร์ (อาหาร – ผ้า) 
๑๒.๕ คหกรรมทั่วไป 
๑๒.๖ คหกรรมศาสตร์ทั่วไป 
๑๒.๗ ศึกษาศาสตร์-คทกรรมศาสตร์ 
๑๒.๘ พัฒนาการเด็กและครอบครัว 
๑๒.๙ อาหารและโภชนา 
๑๒.๑๐ พัฒนาการครอบครัวและการเลี้ยงดูแลเด็ก 
๑๒.๑๑โภชนาการชุมชน 
๑๒.๑๒ คหกรรมศาสตร์ (อาหารโภชนา-ศิลปะประดิษฐ์) 
๑๒.๑๓อุตสาหกรรมเครื่องแต่งกาย 
๑๒.๑๔ ถนอมผลิตภัณฑ์อาหาร 
๑๒.๑๕เทคโนโลยีอาหาร 
๑๒.๑๖ เท่คโนโลยีการอาหาร 
๑๒.๑๗วิทยาศาสตร์การอาหาร
๑๒.๑๘ วิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนา 
๑๒.๑๙วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 
๑๒.๒๐ เทคโนโลยีเสี้อผ้า ๑๒.๒๑โภชนวิทยา 
๑๒.๒๒ โภชนศาสตร์ 
๑๒.๒๓ คหกรรมศาสตร์ศึกษา-อาหารและโภชนาการ 
๑๒.๒๔ คหกรรมศาสตร์ศึกษา – คหกรรมทั่วไป 
๑๒.๒๕ ผ้าและเครื่องแต่งกาย 
๑๒.๒๖วิชาเอกในแบบเอกคู่ท่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง ห่รือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๑๒.๑ – ๑๒.๒๕

๑๓. กลุ่มวิชานาฏศึลป 
๑๓.๑ นาฏศิลป๋ 
๑๓.๒ นาฏศิลป๋ไทย 
๑๓.๓ นาฏศิลป็สากล 
๑๓.๔ นาฏศิลป็และการละคร 
๑๓.๕ นาฏศาสตร์ 
๑๓.๖ นาฏศิลป้สากลศึกษา 
๑๓.๗ นาฏดุริยางค์ศิตศิลป็ศึกษา 
๑๓.๘ ดนตรี – นาฏศิลป็ 
๑๓.๙วิชาเอกในแบบเอกค่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๑๓.๑-๑๓.๘

๑๔. กลุ่มวิชาเกษตรกรรม 
๑๔.๑ เกษตรกรรม 
๑๔.๒ เกษตรศึกษา 
๑๔.๓ เกษตรทั่วไป 
๑๔.๔ ศึกษาศาสตร์ – เกษตร 
๑๔.๕ เกษตรศาสตร์ 
๑๔.๖ เกษตรศาสตร์ทั่วไป 
๑๔.๗ ครุศาสตร์เกษตร 
๑๔.๘ ส่งเสริมการเกษตร 
๑๔.๙ เทคโนโลยีการเกษตร 
๑๔.๑๐ การเกษตร 
๑๔.๑๑ พฤกษศาสตร์ 
๑๔.๑๒ พืชไร่ 
๑๔.๑๓พืชไร่นา 
๑๔.๑๔ พืชสวน 
๑๔.๑๕พืชศาสตร์ 
๑๔.๑๖ เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร
๑๔.๑๗พืชศาสตร์และเทคโนโลยี 
๑๔.๑๘ ส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร 
๑๔.๑๙พืชผัก 
๑๔.๒๐ พืชสวนประดับ 
๑๔.๒๑สัตวศาสตร์ 
๑๔.๒๒ เทคโนโลยีการเกษตร-การผลิตพืช 
๑๔.๒๓เกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา 
๑๔.๒๔ ล่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร 
๑๔.๒๔เทคโนโลยีการเกษตร-การผลิตสัตว์ 
๑๔.๒๖ การผลิตพืช 
๑๔.๒๗พัฒนาการเกษตร 
๑๔.๒๘ ไมัผล 
๑๔.๒๙การผลิตสัตว์ 
๑๔.๓๐ เกษตรและสิ่งแวดล้อม 
๑๔.๓๑ การส่งเสริมและลื่อสารการเกษตร 
๑๔.๓๒ เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมการเกษตร 
๑๔.๓๓อุตสาหกรรมการเกษตร 
๑๔.๓๔ อุตสาหกรรมเกษตร
๑๔.๓๔ทรัพยากรเกษตรชีวภาพ 
๑๔.๓๖ วิทยาศาสตร์เกษตร 
๑๔.๓๗วิทยาศาสตร์การเกษตร 
๑๔.๓๘ วิชาเอกในแบบเอกค่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั๋งค่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๑๔.๑ – ๑๔๓๗

๑๕. กลุ่มวิชาวัดผล
๑๕.๑ วัดผล 
๑๕.๒ วัดผลการศึกษา 
๑๕.๓ การวัดผลการศึกษา 
๑๕.๔ การวัดผลประเมินผลการศึกษา 
๑๕.๕ เทคโนโลยีการวัดและประเมินผล 
๑๕.๖ การวัดและประเมินผลการศึกษา 
๑๕.๗ วิชาเอกในแบบเอกค่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งค่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๑๔.๑ – ๑๔.๖

๑๖. กลุ่มวิชาฟิสิกส์ 
๑๖.๑ ฟิสิกส์ 
๑๖.๒ ฟิสิกส์ประยุกต์ 
๑๖.๓ การสอนฟิสิกส์ 
๑๖.๔ การสอนฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษา 
๑๖.๔ ฟิสิกส์เครื่องมือวัด 
๑๖.๖ ฟิสิกส์ประยุกต์เครื่องมือวิเคราะห์ 
๑๖.๗วิชาเอกในแบบเอกค่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งค่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๑๖.๑ – ๑๖.๖

๑๗. กลุ่มวิชาเคมี 
๑๗.๑ เคมี ๑๗.๒ การสอนเคมี 
๑๗.๓ การสอนเคมีระดับมัธยม 
๑๗.๔ เคมีศึกษา 
๑๗.๔ เคมีเทคนิค 
๑๗.๖ ชีวเคมี 
๑๗.๗ เคมีทั่วไป 
๑๗.๘ วิศวกรรมเคมี 
๑๗.๙ วิทยาศาสตร์/เคมี 
๑๗.๑๐ วิทยาศาสตร์ – เคมี 
๑๗.๑๑ อินทรีย์เคมี 
๗.๑๒ วิชาเอกในแบบเอกค่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งค่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกข้อ ๑๗.๑ – ๑๗.๑๑

๑๘. กลุ่มวิชาชีววิทยา
๑๘.๑ ชีววิทยา 
๑๘.๒ ชีววิทยาทั่วไป 
๑๘.๓ จุลชีววิทยา 
๑๘.๔ สัตววิทยา 
๑๘.๕ พันธุศาสตร์ 
๑๘.๖ พฤกษศาสตร์ 
๑๘.๗ การสอนชีววิทยา 
๑๘.๘ การสอนชีววิทยาระดับมัธยมศึกษา 
๑๘.๙วิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอกขัอ ๑๘.๑ – ๑๘.๘




คุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งของผู้มีสิทธิสมัครสอบ
– ผู้สมัครสอบแข่งขันต้องมีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามมาตรา 43 พ.ศ. 2554 ดังนี้
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
ก. คุณสมบัติทั่วไป
(1) มีสัญชาติไทย
(2) มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปี
(3) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจ

ข. ลักษณะต้องห้าม
(1) เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่กำหนดในกฎ ก.ก.
(2) เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น


(3) เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีจนเป็นที่รังเกียจของสังคม
(4) เป็นบุคคลล้มละลาย
(5) เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกเพราะกระทำ
ความผิดทางอาญา เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(6) เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
(7) เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก หรือปลดออก เพราะกระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายอื่นหรือตามกฎหมายอื่น
(8) เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก เพราะกระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้
(9) เป็นผู้เคยกระทำการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ หรือเข้าปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ
ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งมีลักษณะต้องห้ามตาม ข.(3) (4) (5) (6) (7) (8) หรือ (9) ก.ก. อาจพิจารณายกเว้นให้เข้ารับราชการได้ แต่ถ้าเป็นกรณีมีลักษณะ ต้องห้ามตาม ข. (6) หรือ (7) ผู้นั้นต้องออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสองปีแล้ว และในกรณี มีลักษณะต้องห้ามตาม ข. (4) ผู้นั้นต้องออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสามปีแล้ว และต้องมิใช่ เป็นกรณีออกจากงานหรือออกจากราชการเพราะทุจริตต่อหน้าที่
ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครผู้ใดเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือเป็นกรรมการหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ ในพรรคการเมือง ผู้นั้นต้องลาออกจากการดำรงตำแหน่งหรือการประกอบอาชีพนั้นและการลาออกต้องมีผลก่อนวันบรรจุเข้ารับราชการ
*** หมายเหตุ กรณีผู้ที่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 43 ข. แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554 ประสงค์จะสมัครสอบแข่งขัน เข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคำขอยกเว้นต่อหัวหน้าสำนักงาน ก.ก. ตามแบบ ยว.1 และหนังสือรับรองความประพฤติตามแบบ ยว.2 พร้อมเอกสารที่ใช้อ้างอิงตามแบบดังกล่าว ตามระเบียบ ก.ก. ว่าด้วยการยกเว้นให้ผู้มีลักษณะต้องห้ามเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556
และได้รับการยกเว้นก่อนสมัครสอบ
2.2 ผู้สมัครสอบต้องมีคุณวุฒิตรงตามที่กำหนดไว้ในคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้ 2.2.1 มีคุณวุฒิปริญญาตรีทางการศึกษา หรือปริญญาตรีสาขาอื่นที่ ก.ค.ศ. รับรอง และกำหนดเป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งครูผู้ช่วย และมีคุณวุฒิปริญญาตรี กลุ่มวิชาหรือทางหรือสาขา วิชาเอกตามที่เปิดรับสมัครดังระบุไว้ในรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ซึ่งคุณวุฒิดังกล่าวต้องได้รับอนุมัตจากผู้มีอำนาจอนุมัติปริญญาตรีแล้วว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษาไม่หลังวันเปิดรับสมัครสอบแข่งขันวันสุดท้ายคือวันที่13 ธันวาคม 2565
2.2.2 เป็นผู้มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูออกให้โดยคุรุสภาตามพระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 และต้องได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูจากคุรุสภาไม่หลังวัน เปิดรับสมัครสอบแข่งขันวันสุดท้ายคือวันที่ 13 ธันวาคม 2565 และใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ต้องมีอายุใช้ได้จนถึงวันที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง
2.3 พระภิกษุ หรือสามเณร ไม่มีสิทธิสมัครสอบหรือเข้าสอบแข่งขัน ทั้งนี้ ตามคำสั่งมหาเถรสมาคม ที่ 1/2564 ลงวันที่ 28 กันยายน 2564 เรื่อง กรณีพระภิกษุสามเณรเรียนวิชา หรือสอบแข่งขันหรือสอบคัดเลือก อย่างคฤหัสถ์ พ.ศ. 2564 ข้อ 4 ห้ามพระภิกษุสามเณรสอบแข่งขัน หรือสอบคัดเลือก เพื่อเข้ารับราชการหรือ ทำงานในหน่วยงานของรัฐ

วิชาที่สอบ

ครูผู้ช่วย

วันสอบข้อเขียน (วันแรก) ภาค ก (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)

(ภาคเช้า)
๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.
–    วิชาความรอบรู้ (๗๕ คะแนน)
–    วิชาความสามารถทั่วไป (๕๐ คะแนน) 

(ภาคบ่าย)
๑๔.๐๐ – ๑๕.๓๐ น.     
–    วิชาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประพฤติและ การปฏิบัติของวิชาชีพครู (๗๕ คะแนน)


วันสอบข้อเขียน (วันที่สอง)ภาค ข (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)

(ภาคเช้า)
๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น.
–    วิชาความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา (๑๐๐ คะแนน)

(ภาคบ่าย)
๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.     
 –    วิชาความรู้ความสาม่ารถเกี่ยวกับวิชาเอก (๑๐๐ คะแนน)

๑๕.๑๐ – ๑๕.๓๐ น.
ภาค ค ๑ (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
–    ความเหมาะสมกับตำแหน่ง ทดสอบเกี่ยวกับ ภาวะทางอารมณ์


หลักสูตรการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเช้ารับราขการ
เป็นช้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย
(แนบท้ายประกาศสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร)
ลงวันที่ พ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕
(ตามมติ ก.ก. ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๖)
หลักสูตรการสอบแช่งขัน ประกอบด้วย ภาค ก ภาค ข ภาค ค (คะแนนทั้งหมด ๕๐๐ คะแนน) ภาค ก ความรอบรู้ ความสามารถทั่วไป ความรู้ความเช้าใจเกี่ยวกับการประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครู (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ในเรื่องต่อไปนี้
๑. ความรอบรู้ (คะแนนเต็ม ๗๕ คะแนน) ให้ทดสอบด้วยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย
๑.๑ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน
๑.๒ นโยบายของรัฐบาลและของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา
๑.๓ วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
๑.๔ กฎหมาย (พระราชบัญญัติ) ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ
๑.๔.๑ กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
๑.๔.๒ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร
๑.๔.๓ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร กรุงเทพมหานคร
๑.๔.๔ กฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
๑.๔.๕ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
๑.๔.๖ กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก
๑.๔.๗ กฎหมายว่าด้วยการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
๒. ความสามารถทั่วไป (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) ให้ทดสอบด้วยวิธีการสอบข้อเขียน แบบปรนัยในเรื่องต่อไปนี้
๒.๑ ความสามารถด้านตัวเลข ให้ทดสอบความสามารถในการคิดเลข สรุปเหตุผล
เกี่ยวกับตัวเลขและข้อมูลต่าง ๆ
๒.๒ ความสามารถด้านภาษาไทย ให้ทดสอบความเข้าใจภาษา การอ่านจับใจความ
การสรุปความ การดีความ การขยายความ การเรียงข้อความ การสะกดคำ การแต่งประโยค และคำศัพท์
และอุปมาอุปไมย
๒.๓ ความสามารถด้านเหตุผล ให้ทดสอบความสามารถในการคิดสรุปเหตุผล
๓. ความรู้ความเช้าใจเกี่ยวกับการประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครู
(คะแนนเต็ม ๗๕ คะแนน) ให้ทดสอบด้วยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัยในเรื่องต่อฺไ
๓.๑ วินัยและการรักษาวินัย
๓.๒ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
๓.๓ มาตรฐานการปฏิบัติงานของวิชาชีพครู
๓.๔ จรรยาบรรณวิชาชีพครู
๓.๕ สมรรถนะวิชาชีพครู
ภาค ข ความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ให้ทดสอบด้วยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย ในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
๑.๒ หลักการสอนและการจัดการเรียนรู้
๑.๓ จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
๑.๔ การพัฒนาผู้เรียน
๑.๕ การบริหารจัดการชั้นเรียน
๑.๖ การวิจัยทางการศึกษา
๑.๗ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๑.๘ การวัดและประเมินผลการศึกษา
๒. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาเอก (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ให้ทดสอบ
ด้วยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย และหรือภาคปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้ในเนื้อหา กลุ่มวิชาหรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
ภาค ค ความเหมาะสมกับตำแหน่งและวิชาชีพครู (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
๑. ความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) ให้ทดสอบเกี่ยวกับภาวะทางอารมณ์
ด้วยวิธีการสอบข้อเขียน
๒. ความเหมาะสมกับวิชาชีพครู (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) ให้ประเมินโดยวิธีการสัมภาษณ์
สังเกต ตรวจสอบเอกสารที่เกยวข้อง หรือวิธีอื่นที่เหมาะสม โดยประเมินจาก
2.1 ประวัติส่วนตัวและการศึกษา
2.2 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2.3 บุคลิกลักษณะ
2.4 การมีปฏิภาณ ท่วงทีวาจา
2.5 เจตคติและอุดมการณ์


วิธีการสมัครงานข้าราชการ กทม.  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 6 ธ.ค. – 13 ธ.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครกทม.

ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร

ตำแหน่ง: ครูผู้ช่วย
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 15,050-15,800
อัตราว่าง: 110
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร ()
การสอบภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของ ก.พ.: **ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**

วิธีการสมัครงานข้าราชการ กทม.  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 6 ธ.ค. – 13 ธ.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครกทม.

ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร


คลิกที่น่เพื่อค้นหาคู่มือ/หนัสือเตรียมสอบสำหรับ : กทม.