สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 3 ต.ค. -30 ต.ค. 2565 รวม 7 อัตรา,
สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
ลิงค์: https://ehenx.com/17537/ หรือ
ตำแหน่ง: นิติกรปฏิบัติการ,นักฟิสิกส์รังสีปฏิบัติการ,นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ปฏิบัติการ,นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ,วิศวกรนิวเคลียร์ปฏิบัติการ,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-16,500
อัตราว่าง: 7
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 3 ต.ค. – 30 ต.ค. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งชันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ในสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
ด้วยสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ ในสังกัดสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเขารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันๆ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
นิติกรปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักฟิสิกส์รังสีปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
วิศวกรนิวเคลียร์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นิติกรปฏิบัติการ
1. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชานิติศาสตร์ และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า
นักฟิสิกส์รังสีปฏิบัติการ
1. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางฟิสิกส์ ทางเคมี หรือทางนิวเคลียร์เทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทางรังสีเทคนิค หรือทางรังสีวินิจฉัย หรือสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางนิวเคลียร์เทคโนโลยี และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า
นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ปฏิบัติการ
1. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางเคมี ทางฟิสิกส์ หรือ
ทางนิวเคลียร์เทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ทางชีววิทยา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ทางรังสีเทคนิค ทางรังสีวินิจฉัย หรือทางฟิสิกส์การแพทย์ หรือสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางนิวเคลียร์เทคโนโลยี ทางวิศวกรรมไฟฟ้า ทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ทางวิศวกรรมเคมี ทางวัสดุศาสตร์ ทางวิศวกรรมอุตสาหการ หรือทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
1. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า
วิศวกรนิวเคลียร์ปฏิบัติการ
1. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ ทางนิวเคลียร์เทคโนโลยี ทางวิศวกรรมไฟฟ้า ทางวิศวกรรมอุตสาหการ ทางวิศวกรรมเครื่องกล ทางวิศวกรรมโทรคมนาคม ทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ทางวิศวกรรมโลหการ ทางวิศวกรรมเคมี ทางวิศวกรรมการผลิต ทางวิศวกรรมระบบควบคุม หรือทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสํานักงาน ก.พ. ระดับ ปริญญาตรีหรือสูงกว่า
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับ เดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้ากําลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือสาขาวิชา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ของสํานักงาน ก.พ. ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า
นิติกรปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใชัความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านนิติการ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) เสนอความเห็นแก’ผู้บังคับบัญชาในการตอบข้อหารือหรือวินิจฉัยปัญหา กฎหมายเกี่ยวกับระบียบของทางราชการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อเป็นข้อมูล สนับสบุนการพิจารณาของผู้บังคับบัญชา
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเพื่อปรับปรุงกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับ หน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้ทันกับสถานการณ์และอำนวยความสะดวกในการทำงาน โดยพิจารณาถึงความ เหมาะสมและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย
(๓) ศึกษาข้อมูล รวบรวม แสวงหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย เสนอความเห็น ในการดำเนินการเรื่องใดๆ ที่เกี่ยวกับวินัยข้าราชการ การรัองทุกข์ การพิทักษ์รับบคุณธรรม รวมถึง การดำเนินการใด ๆ ตามกฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการ และการดำเนินคดีของหน่วยงาน เพื่อใข้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และสามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเช้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านกฎหมายแกบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวช้อง เพื่อสร้าง ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เป็นปัญหา และให้ความรู้ถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับ การดำเนินงานของบุคคลหรือหน่วยงานดังกล่าว
นักฟิสิกส์รังสีปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใซัความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านฟิสิกส์รังสี ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ร่วมศึกษา คันควัา วิเคราะห์ และนำเสนอข้อมูลเบื้องด้นในการจัดทำ ปรับปรุง กฎ ระเบียบ คู่มือ มาตรฐาน แนวปฏิบัติ ข้อบังคับความปลอดภัยเกี่ยวกับรังสี หรือการเตรียมความ พรัอมประสานงานกรณีฉุกเนินทางรังสี เพื่อให้ได้ข้อมูล เอกสาร หรือวิธีการ ที่ถูกต้องและสอดคล้อง กับมาตรฐานสากล
(๒) ช่วยปฏิบัติงานด้านการกำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสี โดยติดตาม ตรวจสอบ ประเมินความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน บังคับใช้ใท้เป็นไปตามกฎหมาย ให้ความเห็นเบื้องด้นเกี่ยวกับ การออกใบอนุญาต ยกเลิกใบอนุญาตสำหรับสถานปฏิบัติการทางรังสี เพื่อประกอบการกำกับดูแลความ ปลอดภัยทางรังสีให้เป็นไปตามกฎหมาย
(๓) รวบรวม ตรวจสอบ ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสถานปฏิบัติการทางรังสี ทะเบียนวัสดุกัมมันตรังสี เครื่องกำเนิดรังสี เพื่อประกอบการกับดูแลความปลอดภัยทางรังสีหรือการเตรียม ความพร้อมประสานงานกรณีฉุกเนินทางรังสีได้อย่างถูกต้องและมืประสิทธิภาพ
(๔) ช่วยดำเนินการรับแจ้ง ติดตาม รวบรวมข้อมูล ประเมินสถานการณ์ทางรังสี เบื้องต้นของเหตุผิดปกติ อุบัติเหตุทางรังสีและสร้างเครือข่ายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทางรังสี เพื่อประกอบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทางรังสี
(๕) ช่วยปฏิบัติงาน พัฒนาองค์ความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับมาตรฐาน ทางรังสีและกัมมันตรังสีของประเทศ การบำรุงรักษามาตรฐาน การสอบเทียบและการให้การรับรองมาตรฐาน ทางรังสี การประเมินค่าปริมาณรังสีของผู้ปฏิบัติงานทางรังสีและผู้ที่เกี่ยวข้อง การกำกับ ควบคุม ตรวจสอบ การใช้วัสดุนิวเคลียร์ของประเทศและกิจกรรมด้านพลังงานปรมาณูในประเทศไทย ตามพันธกรณีของ สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์และมาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้อง การติดตาม ตรวจสอบวัดกัมมันตรังสี ในสิ่งแวดลัอม พัฒนาองค์ความรู้และประสบการณ์ไนการเฝ็าตรวจ วิเคราะห์และประเมินค่ากัมมันตรังสี ตามพันธกรณีของสนธิสัญญาต่าง ๆ เพื่อสร้างมาตรฐานด้านรังสีและปฏิบัติงานตามพันธกรณี
(๖) ดำเนินการด้านการจัดระบบเอกสาร ระบบคุณภาพ กฎ ระเบียบ คูมอ มาตรฐาน แนวปฏีบีติ การพัฒนาและจัดทำฐานข้อมูล เพื่อการกำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสีและสนับสบุน การกำกับความปลอดภัยทางพลังงานปรมาณู
(๗) ช่วยถ่ายทอดความรู้ด้านการกำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสีและ การสนับสบุนการกำกับดูแลการใช้พลังงานนิวเคลียร์ รวมทั้งจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน เพื่อเสนอ ผู้บังคับบัญชาหน่วยงานของตน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรัางความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการข้อมูล จัดเก็บข้อมูล รายงานผลลัพธ ผลสัมฤทธต่าง ๆ จากการ ปฏิบัติงานในหนัาที่ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อไปในอนาคต หรือเพื่อประโยชน์ในงานบริการข้อมูลแกหน่วยงาน ภาครัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง
(๒) ให้คำปรึกษาแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหนัาที่ แกหน่วยงานภาครัฐหรึอเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์!นงานบริการข้อมูล
นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใซัความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานต้านวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ช่วยปฏิบัติงาน พัฒนาองค์ความรู้และประสบการณ์!นการเก็บและวิเคราะห์ ปริมาณอัมมันตภาพรังสีในตัวอย่างสิ่งแวดลัอมด้วยวิธีการที่เป็นมาตรฐานสากล การประเมินปริมาณรังสี เบื้องต้นในสิ่งแวดลัอม ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ พรัอมทั้งจัดทำคู่มือการดำเนินงาน เพื่อให้ การประเมินปริมาณรังสีเบื้องต้นในสิ่งแวดล้อมเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(๒) จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานและการดำเนินการ เพื่อเสนอผู้บังคับบัญชา หรือหน,วนงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใข้เป็นข้อมูลพื้นฐานและแนวทางในกำหนดมาตรการด้านความปลอดภัย ทางรังสี
(๓) ช่วยปฏิบัติงานเกี่ยวอับการติดตาม ตรวจวัดปริมาณอัมมันตภาพรังสี ในสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและพันธกรณีของสนธิสัญญาที่เกี่ยวข้อง
(๔) ช่วยถ่ายทอดความรูในเรื่องเครื่องมือ อุปกรณ์การวัดรังสีและการตรวจวัด ปริมาณรังสีในสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นแกเจัาหบัาที่ระดับรองลงมา เพื่อให้สามารถใข้เครื่องมือวัดและทำการ ตรวจวัดได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
(๕) ร่วมดำเนินการด้านการจัดระบบเอกสาร ระบบคุณภาพ กฎ ระเบียบ คู่มือ มาตรฐาน แนวปฏิบัติ การพัฒนาและจัดทำฐานข้อมูล เพื่อการกำกับความปลอดภัยทางพลังงานปรมาณู
(๖) เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการต่างๆ ตามที่ได้รับแต่งตั้ง เพื่อร่วมกำหนด นโยบายเกี่ยวกับดำเนินการตรวจวัดปริมาณกัมมันตภาพรังสีและประเมินปริมาณรังสีในสิ่งแวดล้อม
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของ หน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลส้มฤทธี้ที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) จัดเก็บข้อมูล รายงานผลลัพธ์ ผลสัมฤทธต่าง ๆ จากการปฏินัติงานในหน้าที่ เพื่อเป็นประโยชน์ต่องานด้นควาวิจัยต่อไปในอนาคต หรือเพื่อประโยชน์ในงานบริการข้อมูลแก,หน่วยงาน ภาครัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง
(๒) ให้คำปรึกษาแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ แกหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์!นงานบริการข้อมูล
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเผยแพร่ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนะความคิดเห็นในการกำหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ในการเผยแพร่ ข่าวสารและความรู้ เพื่อให้การปรับปรุงงานด้านการเผยแพร่ของหน่วยงาน ให้ดียิ่งขึ้น
(๒) ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลทางวิชาการและวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อใช้ ประกอบในการจัดทำแผนงานโครงการและการเผยแพร่กิจกรรม ความรู้ ของหน่วยงาน
(๓) ร่วมศึกษาวิจัย ด้านการเผยแพร่กิจกรรมข่าวสาร ความรู้ และสรุปผล การศึกษา เพื่อใช้ประกอบในการกำหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการการดำเนินงานเผยแพร่ กิจกรรมข่าวสาร ความรู้ของหน่วยงาน และเผยแพร่แก,หน่วยงานอื่น
(๔) สำรวจ รวบรวม วิเคราะห์ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อใช้ในการกำหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์และโครงการเกี่ยวกับการดำเนินงานเผยแพร่ กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้
(๕) เรียบเรียงข่าวสาร บทความ เพื่อเผยแพร่แก่กลุ่มเป้าหมายผ่านสื่อ และช่องทางการเผยแพร่ต่าง ๆ
(๖) จัดทำสื่อ เพื่อเผยแพร่กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้ของหน่วยงานแก่ กลุ่มเป้าหมายผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
(๗) ดำเนินการเผยแพร่กิจกรรม ความรู้ และประสานงานการเผยแพร่กับ หน่วยงานอื่น ๆ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติแก่ประชาชนเกี่ยวกับความรู้และข่าวสารผลงานของ หน่วยงานผ่านสื่อและช่องทางการเผยแพร่ต่าง ๆ
(๘) กำกับดูแลการเผยแพร่กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
(๙) ร่วมดำเนินการประเมินผล การดำเนินงานเผยแพร่กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้ เพื่อปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น(๑๐) จัดทำระบบและฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานด้าน การเผยแพร่กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของ หน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธื้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ต้านการบริการ
(๑) ให้บริการข้อมูลข่าวสาร เพื่อการเผยแพร่เบื้องต้นแกส่วนราชการ หน่วยงาน องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และสื่อมวลชน
(๒) ให้คำปรึกษา แนะนำ ความรู้เบื้องต้นแก่บุคคลผู้ที่สนใจทั่วไป เพื่อเป็น ประโยชน์และสร้างความเข้าใจแก1บุคคลทั่วไป
วิศวกรนิวเคลียร์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใข้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการใน การทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ภายใด้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิ,บตการ
(๑) กำกับดูแลความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู เพื่อใหัการปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ และมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยสูงสุด
(๒) ร่วมดำเนินการตรวจสอบ และประเมินความปลอดภัยทุกระยะของ การดำเนินการของเครื่องปฏิกรณ์ตั้งแต่การก่อสรัาง ก่อนเริ่มดำเนินการ การเดินเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู และ หลังการเริ่มดำเนินการตลอดจนการรื้อถอนเมื่อเลิกดำเนินการ ให้สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้เกิดความมั่นใจในกระบวนการกำกับดูแลความปลอดภัย
(๓) ร่วมศึกษา วิเคราะห์และวิจัยงานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของเครื่อง ปฏิกรณ์ รวมทั้งรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องปฏิกรณ์ เพื่อประกอบการกำกับดูแลความปลอดภัยให้เป็นไป ตามมาตรฐานสากล
(๔) ร่วมตรวจสอบ แกํไขและซ่อมบำรุงเครื่องปฏิกรณ์ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดและมาตรฐานสากล
(๕) ปรับเทียบ ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ที่ใช้สนับสนุนการกำกับดูแลความปลอดภัย ทางนิวเคลียร์ เพื่อให้มีสภาพพรัอมใช้งาน
(๖) ช่วยปฏิบัติงานในการติดตาม ตรวจวัดกัมมันตภาพรังสีในสิ่งแวดล้อม พัฒนาองค์ความรู้และประสบการณ์ ในการเฝ็าตรวจ วิเคราะห์และประเมินค่ากัมมันตภาพรังสีตามพันธกรณี ของสนธิสัญญาต่างๆ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมินความปลอดภัยทางรังสีและการดำเนินกิจกรรมทาง นิวเคลียร์ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชน
(๗) ช่วยปฏิบัติงาน พัฒนาองค์ความรู้และประสบการณ์ ในการกำกับ ควบคุม ตรวจสอบการใช้วัสดุนิวเคลียร์ของประเทศ และกิจกรรมด้านพลังงานปรมาณูในประเทศไทยตามพันธกรณีของ สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์และมาตรการสากลที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นหลักประกันว่าได้มีการ ดำเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศ
(๘) ดำเนินการด้านการจัดระบบเอกสาร ระบบคุณภาพ กฎ ระเบียบ คูมอ มาตรฐาน แนวปฏิบัติ การพัฒนาและจัดทำฐานช้อมูล เพื่อการกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และ สนับสบุนการกำกับความปลอดภัยทางพลังงานปรมาณู
(๙) ช่วยถ่ายทอดความรู้ด้านการกำกับและการสนับสนุนการกำกับดูแลการใช้ พลังงานนิวเคลียร์ เพื่อรักษาและคงไว้ซึ่งองค์ความรู้ด้านพลังงานนิวเคลียร์อย่างยั่งยืน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานทีรับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของ หน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรัางความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานวิศวกรรมนิวเคลียร์ที่ตนมี ความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องด้น แก1หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบ ข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุงหรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบ สารสนเทศที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมนิวเคลียร์ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนการกิจของหน่วยงาน และใช้ ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้’ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม1จำเป็นต้องใข้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่เด้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุมการใซังาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบ เครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งขอมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการของหน่วยงานภายในและ
ภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใซังาน เพื่อการ วางแผนบำรุงรักษา
(๓) ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการออกใบรับรอง ตามที่หน่วยงาน หรือกฎหมายกำหนด
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใชังานและผู้รับบริการ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก หน่วยงาน เพื่อประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ
นิติกรปฏิบัติการ
๑. พระราชบัญญ้ติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. ๒๕๕๙ และที่แกไขเพิ่มเดิม ๒. พระราชบัญญ้ติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ๓. พระราชบัญญ้ติวิธีปฏินิติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ๔. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ๕. ประมวลกฎหมายอาญา
๖. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
๗. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
๘. การร่างกฎหมาย
๙. ความรู้เกี่ยวกับหลักกฎหมายมหาชน ๑๐. ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย
นักฟิสิกส์รังสีปฏิบัติการ
๑. พระราชบัญญ้ติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. ๒๕๕๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับรังสี ประเภทและคุณสมบัติของรังสี นิวไคลด้รังสีการคำนวณ คากัมมันตภาพ การสลายตัวของไอโซโทปรังสี
๓. หน่วยวัดรังสี หลักการตรวจวัดรังสีและเครื่องมือวัดรังสี
๔. การได้รับรังสี ผลของรังสีต่อสิ่งมีชีวิตและการป้องกันอันตรายจากรังสี
นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ปฏิบัติการ
๑. ความรู้ทั่วไปด้านนิวเคลียร์ฟิสิกส์ การประเมินผลการได้รับรังสี และการตรวจวัดรังสี ในบุคคล
๒. ความรู้พื่นฐานเกี่ยวกับรังสี ประเภทและคุณสมนิติของรังสี นิวไคลคํรังสีการคำนวณ ค่ากัมมันตภาพ การสลายตัวของไอโซโทปรังสี
๓. หน่วยวัดรังสี หลักการตรวจวัดรังสีและเครื่องมือวัดรังสี
๔. การได้รับรังสี ผลของรังสีต่อสิ่งมีซีวิตและการปัองกันอันตรายจากรังสี
๕. พระราชบัญญ้ติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. ๒๕๕๙ และที่แก็ไขเพิ่มเดิม
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
๑. ความรู้เกี่ยวกับประชาสัมพันธ์และกลยุทธ์การสื่อสาร
๒. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ทั่วไป
๓. ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการฝึกอบรม
วิศวกรนิวเคลียร์ปฏิบัติการ
๑. พระราชบัญญ้ติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. ๒๕๕๙ และที่แกิไขเพิ่มเดิม ๒. ความรู้พื้นฐานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ๓. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีสอบข้อเขียน ดังนี้ ๑. ความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
๒. ความรู้เนี้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 3 ต.ค. – 30 ต.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร
ตำแหน่ง: นิติกรปฏิบัติการ,นักฟิสิกส์รังสีปฏิบัติการ,นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ปฏิบัติการ,นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ,วิศวกรนิวเคลียร์ปฏิบัติการ,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-16,500
อัตราว่าง: 7
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร ()
การสอบภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของ ก.พ.: **เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 3 ต.ค. – 30 ต.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร