Sale!

หนังสือ กฎหมายหนี้ : หลักทั่วไป ดาราพร ถิระวัฒน์

225฿

หมวดหมู่:
กฎหมายหนี้ : หลักทั่วไป ดาราพร ถิระวัฒน์
ผู้แต่ง : ศาสตราจารย์ ดร.ดาราพร ถิระวัฒน์
สารบาญ
บทที่ 1 บทนำ
1. ความหมายของ”หนี้”
2. ประเภทของหนี้
3. ลักษณะความผูกพันของลูกหนี้
4. ลักษณะของสิทธิทางหนี้
5. ความแตกต่างระหว่างสิทธิทางหนี้และทรัพยสิทธิ
6. รากฐานความสัมพันธ์ทางหนี้: การใช้สิทธิโดยสุจริต
บทที่ 2 วัตถุแห่งหนี้
1. กรณีทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้เป็นทรัพย์ที่ไม่แน่นอน
1.1 ลักษณะของทรัพย์ที่ไม่แน่นอน: ทรัพย์ที่ระบุเพียงเป็นประเภท
1.2 ผลตามกฎหมายของการกำหนดทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้ให้เป็นทรัพย์ที่แน่นอน
2. กรณีหนี้เงิน
2.1 หนี้เงินที่กำหนดไว้เป็นเงินตราต่างประเทศ
2.2 หนี้เงินเป็นเงินตราที่ยกเลิกไม่ใช้แล้ว
3. กรณีการอันพึงชำระหนี้มีหลายอย่าง
บทที่ 3 หลักความรับผิดของลูกหนี้
1. หลักเกณฑ์การใช้สิทธิเรียกร้องชำระหนี้
1.1 หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว
1.2 “ข้อพิจารณาพิเศษ”เกี่ยวกับกำหนดเวลาชำระหนี้
1.3 การละเลยไม่ชำระหนี้
2. หลักการผิดนัดของลูกหนี้
2.1 หลักลูกหนี้ผิดนัด
2.2 ข้ออ้างที่ทำให้ลูกหนี้ยังไม่ตกเป็นลูกหนี้ผิดนัด
3. หลักความรับผิดของลูกหนี้ที่ไม่ชำระหนี้
3.1 หลักความรับผิดทั่วไป: ความรับผิดที่ไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลหนี้
1.2 “ข้อพิจารณาพิเศษ”เกี่ยวกับหลักการความรับผิดตามมาตรา215
3.3 หลักความรับผิดเฉพาะ: ความรับผิดของลูกหนี้ผิดนัด
4. หลักการบังคับชำระหนี้
4.1 การบังคับชำระหนี้โดยเฉพาะเจาะจง
4.2 การบังคับชำระหนี้โดยการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหาย
บทที่ 4 หลักการชำระหนี้เป็นพ้นวิสัย
1. ความหมายของการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย
2.การพิจารณาลักษณะการพ้นวิสัยตามวัตถุแห่งหนี้
2.1 หนี้กระทำการ
2.2 หนี้ส่งมอบทรัพย์สิน
2.3 หนี้งดเว้นกระทำการ
3.ผลตามกฎหมายของการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย
3.1 การชำระหนี้เป็นพ้นวิสัยก่อนหรือขณะทำนิติกรรม
3.2 การชำระหนี้เป็นพ้นวิสัยภายหลังทำนิติกรรม
2.3 หนี้งดเว้นกระทำการ
3.ผลตามกฎหมายของการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย
3.1 การชำระหนี้เป็นพ้นวิสัยก่อนหรือขณะทำนิติกรรม
3.2 การชำระหนี้เป็นพ้นวิสัยภายหลังทำนิติกรรม
บทที่ 5 หลักการคุ้มครองสิทธิเจ้าหนี้
1. หลักการใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
1.1 หลักเกณฑ์การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
1.2 วิธีการใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
1.3ผลของการใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
2. หลักการเพิกถอนการฉ้อฉล
3. หลักการสิทธิยึดหน่วง
3.1 ลักษณะของสิทธิยึดหน่วง
3.2 หลักเกณฑ์ของสิทธิยึดหน่วง
3.3 กรณีที่เจ้าหนี้ไม่สามารถใช้สิทธิยึดหน่วงได้
3.4 ความระงับแห่งสิทธิยึดหน่วง
3.4 ผลของสิทธิยึดหน่วง
3.5 ความระงับของสิทธิยึดหน่วง
บทที่ 6 การรับช่วงสิทธิ และการช่วงทรัพย์
1.การรับช่วงสิทธิ
1.1 ลักษณะของการรับช่วงสิทธิ
1.2 กรณีการรับช่วงสิทธิ
1.3 ผลของการรับช่วงสิทธิ
1.4 ” ข้อพิจารณาพิเศษ”เกี่ยวกับการรับช่วงสิทธิ
2. การช่วงทรัพย์
2.1 ลักษณะของการช่วงทรัพย์
2.2 กรณีการช่วงทรัพย์
2.3 ผลของการช่วงทรัพย์
บทที่ 7 การโอนสิทธิเรียกร้อง
1.ลักษณะของการโอนสิทธิเรียกร้อง
2.ประเภทของสิทธิเรียกร้อง
3.วิธีการโอนสิทธิเรียกร้อง
3.1 การโอนสิทธิเรียกร้องในหนี้อันต้องชำระแก่เจ้าหนี้โดยเฉพาะเจาะจง
3.2 การโอนสิทธิร้องในหนี้อันพึงต้องชำระตามเขาสั่ง
4.ผลของการโอนสิทธิเรียกร้อง
บทที่ 8 ลูกหนี้เจ้าหนี้หลายคน
1.การแบ่งชำระหนี้ได้
1.1 ลักษณะลักษณะของหนี้ที่แบ่งกันชำระหนี้
1.2 ผลของหนี้ที่แบ่งกันชำระหนี้ที่มีบุคคลหลายคนเป็นลูกหนี้หรือเป็นเจ้าหนี้
2.หนี้ร่วม
2.1 หลักของลูกหนี้ร่วม
2.2 หลักของเจ้าหนี้ร่วม
3.หนี้อันจะแบ่งกันชำระไม่ได้
3.1 กรณีที่มีลูกหนี้หลายคนในหนี้อันแบ่งกันได้ชำระไม่ได้
3.2 กรณีที่มีเจ้าหนี้หลายคนในหนี้อันแบ่งกันชำระไม่ได้
บทที่ 9 ความระงับแห่งหนี้
1.หลัก: การชำระหนี้
1.1 หลักเกณฑ์การชำระหนี้
1.2 ผลของการชำระหนี้
2.ข้อยกเว้น: การระงับหนี้ในกรณีอื่นที่ไม่มีการชำระหนี้ของลูกหนี้
2.1 การปลดหนี้
2.2 การหักกลบลบหนี้
2.3 การแปลงหนี้ใหม่
2.4 การที่หนี้กลืนกัน
บทที่ 10 นิติกรมที่บุคคลภายนอกเข้าชำระหนี้ของลูกหนี้
1.หลักการชำระหนี้โดยบุคคลภายนอก
1.1 ความสำคัญของการชำระหนี้
1.2 ลักษณะของความผูกพันในการชำระหนี้: ความรับผิดของลูกหนี้
1.3 สาเหตุที่มีบุคคลภายนอกเข้าชำระหนี้แทนลูกหนี้
1.4 ความหมายของ”บุคคลภายนอก”ที่เข้าชำระหนี้
1.5 หลักเกณฑ์ของการชำระหนี้โดยบุคคลภายนอก
1.6 ผลทางกฎหมายของการชำระหนี้โดยบุคคลภายนอก
2.ประเภทของสัญญาที่บุคคลภายนอกตกลงเข้าชำระหนี้ของลูกหนี้
2.1 สัญญาที่บุคลภายนอกตกลงเข้าชำระหนี้: การตกลงในบุคคลภายนอกเข้าเป็นลูกหนี้เพิ่มอีกคนหนึ่ง
2.2 สัญญาแปลงหนี้ใหม่โดยการเปลี่ยนตัวลูกหนี้เป็นบุคคลภายนอก
2.3 สาเหตุโอนหนี้ (ของลูกหนี้) ให้บุคคลภายนอก
2.4 ความตกลงที่ลูกหนี้ให้ลูกหนี้ของตนทำการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ในลักษณะเป็นสัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอก
3.สิทธิของบุคคลภายนอกในการเรียกคืนจากลูกหนี้ภายหลังที่บุคคลภายนอกชำระหนี้แล้ว
3.1 เจ้าหนี้สิ้นสุดสิทธิเรียกร้องต่อลูกหนี้: หนี้ระงับ
3.2 ปัญหากรณีบุคคลภายนอกจะรับช่วงสิทธิจากเจ้าหนี้
3.3 กรณีบุคคลบุคคลภายนอกอาจรับโอนสิทธิเรียกร้องจากเจ้าหนี้
3.4 กรณีบุคคลภายนอกใช้สิทธิเรียกคนตามมูลหนี้ใหม่
บรรณานุกรม
ดัชนีคำ
ดัชนีแผนภูมิ
น้ำหนัก 1 กก.
Scroll to Top