คำอธิบาย
KP-1760 คำอธิบาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยผลและความระงับแห่งหนี้
สารบัญ บทที่ 1 ข้อพิจารณาเบื้องต้น ข้อ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์ 1.1 ความเชื่อมโยง และทับซ้อนกัน 1.2 ความผิดแผกแตกต่าง ข้อ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายลักษณะหนี้กับกฎหมายลักษณะทรัพย์สิน 2.1 หลักคิด และหลักการพื้นฐานของกฎหมายลักษณะทรัพย์สิน 2.2 หลักคิด และหลักการพื้นฐานของกฎหมายลักษณะหนี้ 2.3 ความทับซ้อนและเชื่อมโยงกัน ข้อ 3 โครงสร้างและขอบเขตของกฎหมายลักษณะหนี้ 3.1 บ่อเกิดแห่งหนี้ 3.2 ผลแห่งหนี้ 3.3 ความระงับแห่งหนี้ ข้อ 4 คู่กรณีอาจตกลงกันให้ผิดแผกแตกต่างไปจากบทกฎหมายลักษณะหนี้ได้ 4.1 หลักทั่วไป 4.2 ข้อยกเว้น (1.) มาตรา 196 วรรคหนึ่ง (2.) มาตรา 224 วรรคสอง (3.) หลักสุจริตตามมาตรา 5 บทที่ 2 สภาพบังคับแห่งหนี้ (Force of obligation) ข้อ 1 การบังคับชำระหนี้เฉพาะเจาะจง (Specific Enforcement) 1.1 สิทธิของเจ้าหนี้ในการฟ้องขอบังคับชำระหนี้เฉพาะเจาะจง 1.2 วัตถุแห่งหนี้ 1.3 ทรัพย์ที่เป็นวัตถุแห่งนี้ 1.4 ลูกหนี้ผิดนัด 1.5 เจ้าหนี้ผิดนัด ข้อ 2 กรณีเจ้าหนี้ไม่อาจบังคับชำระหนี้เฉพาะเจาะจงได้ 2.1 หนี้ในธรรม 2.2 สภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้บังคับเฉพาะเจาะจง 2.3 การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย 2.3.1 เหตุที่ทำให้การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย : ความหมายและองค์ประกอบ – ต่างจากวัตุประสงค์แห่งนิติกรรมเป็นพ้นวิสัยตามมาตรา 150 2.3.2 ผลของการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย (1) กรณีหนี้ฝ่ายเดียว (มาตรา 217 ถึงมาตรา 219) (2) กรณีหนี้ต่างตอบแทน (มาตรา 270 ถึงมาตรา 372) (3) ผลต่อเนื่องประกาศอื่น บทที่ 3 ผู้มีสิทธิบังคับชำระหนี้ หลัก เจ้าหนี้คือผู้มีสิทธิฟ้องบังคับซำระหนี้ เว้นแต่ . . . ข้อ 1 รับช่วงสิทธิ (Subrogation)และช่วงทรัพย์(Substitution Of Property) 1.1 ช่วงสิทธิ : หลักคิดและความหมาย – ต่างจากสิทธิไล่เบี้ย 1.1.1 เหตุที่ทำให้เกิดการรับช่วงสิทธิ(มาตรา 227 มาตรา 229 มาตรา 230 และมาตรา 880) 1.1.2 ผลของการรับช่วงสิทธิ (มาตรา 226 วรรคหนึ่ง) 1.2 ช่วงทรัพย์ : หลักคิดและความหมาย – ต่างจาก Doctrine of Tracing ของ Common Law และต่างจากแปลงหนี้ใหม่ 1.2.1 เหตุที่ทำให้เกิดช่วงทรัพย์ (มาตรา 228 และมาตรา 231 ถึงมาตรา 232) 1.2.2 ผลของการช่วงทรัพย์ (มาตรา 226 วรรคสอง) ข้อ 2 โอนสิทธิเรียกร้อง (Assignment fo Personal Right or Right of Claim) ( มาตรา 303 ถึงมาตรา 313 ) หลักคิดและความหมาย – ต่างจากการโอนหนี้ และรับช่วงสิทธิ 2.1 สิทธิเรียงร้องที่มีมาตราแสดงสิทธิเป็นตราสารเปลี่ยนมือ (Negotiable Instrument) 2.1.1 แบบและวิธีการโอน (มาตรา 309 ถึงมาตรา 311) 2.1.2 ผลของการโอนโดยชอบ (มาตรา 312 ถึงมาตรา 313) 2.2 สิทธิเรียกร้องที่ไม่มีตรามารแสดงสิทธิเป็นตราสารเปลี่ยนมือ 2.2.1 แบบและวิธีการโอน (มาตรา 303 มาตรา 304 และมาตรา 306) 2.2.2 ผลของการโอนโดยชอบ (มาตรา 305 มาตรา 307 และมาตรา 308) ข้อ 3 ใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ (มาตรา 233 ถึงมาตรา 236) 3.1 เงื่อนไขที่ทำให้ เจ้าหนี้เข้าใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ได้ (มาตรา 233) 3.2 วิธีการใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ (มาตรา 234) 3.3 ผลของการใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ (มาตรา 235 และมาตรา 236) บทที่ 4 หลักประกันแห่งหนี้ (Security of obligation) ข้อ 1 กองทรัทย์สินของลูกหนี้เป็นหลักประกันเบื้องต้น 1.1 กองทรัทย์สิน (Assets) ของลูกหนี้ (มาตรา 214) 1.2 ข้อยกเว้น 1.2.1 ทรัพย์สินของลูกหนี้ที่เจ้าหนี้บังคับชำระหนี้ไม่ได้ 1.2.2 ทรัพย์สินของผู้อื่นแต่เจ้าหนี้อาจบังคับชำระหนี้ได้ ข้อ 2 หลักประกันอื่น (Collaterals) นอกเหนือจากกองทรัพย์สินของลูกหนี้ 2.1 หลักประกันที่มีอยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ค้ำประกัน – จำนอง – จำนำ 2.2 สิทธิยึดหน่วง (Lien) 2.2.1 ความหมาย และเงื่อนไขของการเกิดสิทธิยดหน่วง 2.2.2 ผลของสิทธิยึดหน่วง 2.2.3 ความระงับสิ้นไปของสิทธิยึดหน่วง 2.3 บุริมสิทธิ (Priority Right) 2.3.1 บุริมสิทธิสามัญ 2.3.2 บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์ 2.3.3 บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์ ข้อ 3 มาตรการตอบโต้การยักย้ายถ่ายเททรัพย์หลบหนีการบังคับชำระหนี้ 3.1 การเพิกถอนการฉ้อฉล (Revocation of Fraudulent Transation) 3.1.1 ความหมาย และองค์ประกอบของการฉ้อฉล 3.1.2 วิธีการเพิกถอน 3.1.3 ผลของการเพิกถอน 3.2 มาตรการอื่นๆ บทที่ 5 ความระงับแห่งหนี้ (Cessation of obligation) ข้อ 1 หนี้ระงับเพราะลูกหนี้ปฏิบัติการชำระหนี้ถูกต้องครบถ้วน 1.1 ผู้มีสิทธิรับชำระหนี้ 1.2 การชำระหนี้อย่างอื่นแทนการชำระหนี้เดิม 1.3 หลักฐานการชำระหนี้ 1.4 การชำระหนี้ที่มีหลายอย่างระหว่างคนคู่เดียวกัน ข้อ 2 หนี้ระงับเพราะคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งใช้สิทธิหักกลบลบหนี้ 2.1 เงื่อนไข 2.2 วิธีการ 2.3 ผลทางกฎหมาย ข้อ 3 หนี้ระงับเพราะคู่กรณีตกลงกันแปลงหนี้ใหม่ 3.1 ความหมายและองค์ประกอบ 3.2 ผลทางกฎหมาย 3.3 ความแตกต่างจาการรับสภาพหนี้ การผ่อนปรนให้แก่ลูกหนี้ และการชำระหนี้โดยวิธีอื่น ข้อ 4 หนี้ระงับเพราะคู่กรณีทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน 4.1 ความหมาย หลักฐาน และผลทางกฎหมาย 4.2 ความเหมือน และแตกต่างกับการแปลงหนี้ใหม่ ข้อ 5 หนี้ในมูลสัญญาระงับเพราะการระงับสิ้นไปแห่งสัญญา 5.1 ความระงับแห่งสัญญา 5.1.1 สัญญาระงับโดยไม่ต้องบอกเลิก 5.1.2 สัญญาระงับโดยความตกลงของคู่สัญญา 5.1.3 สัญญาระงับโดยการบอกเลิกสัญญา 5.2 ผลของการบอกเลิกสัญญา 5.2.1 สัญญาระงับสิ้นผลย้อนหลัง 5.2.2 สัญญาระงับสิ้นผลในอนาคต บทที่ 6 หนี้รายเดียวมีลูกหนี้หรือเจ้าหนี้หลายคน (Plural Debtors or Creditors) ข้อ 1 ลูกหนี้ร่วม (Joint and Several Debtors) 1.1 เหตุที่ทำให้เป็นลูกหนี้ร่วม 1.1.1 เป็นลูกหนี้ร่วมเพราะร่วมกันก่อหนี้ 1.1.2 มีกฏหมายบัญญัติให้เป็นลูกหนี้ร่วม 1.2 ผลของการเป็นลูกหนี้ร่วม 1.2.1 ความรับผิดชอบของลูกหนี้ร่วม 1.2.2 ผลทางกฎหมายของการกระทำโดยหรือกระทำต่อลูกหนี้ร่วมคนใดคนหนึ่ง หลัก : มีผลเป็นคุณหรือโทษต่อลูกหนี้ร่วมคนนั้นคนเดียวไม่มีผล ต่อลูกหนี้ร่วมคนอื่น (มาตรา 295) ข้อยกเว้น : (1) โดยสภาพของหนี้ควรให้มีผลถึงลูกหนี้ร่วมคนอื่นด้วย (2) การผิดนัดของเจ้าหนี้ (มาตรา 294) (3) การปลดหนี้ให้ลูกหนี้ร่วมคนใดคนหนึ่ง (มาตรา 293) (4) ลูกหนี้ร่วมคนใดคนหนึ่งทำการชำระหนี้ หักกลบลบหนี้ หรือการอื่นอันพึงกระทำแทนการชำระหนี้ (มาตรา 292) ข้อ 2 เจ้าหนี้ร่วม (Joint And Several Creditors) 2.1 เหตุที่ทำให้เป็นเจ้าหนี้ร่วมกัน 2.2 ผลทางกฎหมายของการเป็นเจ้าหนี้ร่วม ราคา 190 บาท จัดทำโดย จรัญ ภักดีธนากุล |